รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

สถาบันการทูตและการต่างประเทศ

วันที่ประเมิน: 5 ตุลาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 1.1] ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน คะแนน
[1] จำนวนหลักสูตรทั้งหมดที่คณะรับผิดชอบ
[ไม่รวมหลักสูตรที่ใช้ระบบประกันคุณภาพอื่นๆ ที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)]
2 4.07
[2] ผลรวมของค่าคะแนนประเมินของทุกหลักสูตร 8.13
[3] ผลลัพธ์ที่ได้ [2] / [1] 4.07

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

การดำเนินการหลักสูตรเป็นไปตามเกณฑ์

[ตัวบ่งชี้ 1.2] อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 40 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 9.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 8
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 88.89
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกจำนวนมากเมื่อเทียบกับจำนวนอาจารย์ทั้งหมด สูงถึง ร้อยละ 88.89 

[ตัวบ่งชี้ 1.3] อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 9.00 1.85
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 2
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 22.22
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 1.85

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

จำนวนอาจารย์ที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการยังมีน้อยเมื่อเทียบกับจำนวนอาจารย์ทั้งหมด 

[ตัวบ่งชี้ 1.4] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] สามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า [ค่า FTES] รวมทุกหลักสูตร 112.95 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] 9.00
[3] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำที่เป็นจริง [1] / [2] 12.55
[4] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำแยกตามกลุ่มสาขาวิชา 25.00
[5] ร้อยละที่ได้ ([3] – [4] / [4]) X 100 -49.80
[6] ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-
 

[ตัวบ่งชี้ 1.5] การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

การจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมเพื่อการทำงานในข้อ 3 นอกจากการไปศึกษาดูงานนอกห้องเรียนแล้ว อาจจัดกิจกรรมแนวทางการประกอบอาชีพตามสายงาน โดยประชาสัมพันธืให้ศิษย์เก่าเข้าร่วมด้วย เพื่อเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมเพิ่มเติม ในข้อ 6 อีกรูปแบบหนึ่ง  

[ตัวบ่งชี้ 1.6] กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
3
3
100.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

มีแผนการจัดกิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรีตามที่กำหนด มีการประเมินความสำเร็จ และนำผลการประเมินไปปรับปรุงแผนในปีต่อไป

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 1

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอกมีจำนวนมาก แสดงให้เห็นถึงความเข้มแข็งทางวิชาการได้อย่างชัดเจน
  2. มีระบบอาจารย์ที่ปรึกษาที่ชัดเจนทำให้สามารถดูแลนักศึกษาได้อย่างใกล้ชิด และครอบคลุมในทุกด้าน

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. จำนวนอาจารย์ที่ดำรงตำแหน่งวิชาการยังมีน้อย ควรสนับสนุนส่งเสริมการขอตำแหน่งวิชาการเพิ่มเติม โดยใช้การวางแผนการพัฒนารายบุคคลที่มหาวิทยาลัยกำหนด (IDP) และการบริหารจัดการการทำงานร่วมกัน รวมทั้งมีการติดตามปัญหาหรือความก้าวหน้าอย่างเป็นระบบ
  2. เพิ่มการจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมเพื่อการทำงานเมื่อสำเร็จการศึกษาแก่นักศึกษา โดยประชาสัมพันธ์ให้ศิษย์เก่าเข้าร่วมด้วย เพื่อเป็นการให้ข้อมูลและความรู้ที่เป็นประโยชน์ในการประกอบอาชีพแก่ศิษย์เก่า และสร้างความเข็มแข็งให้กับเครือข่ายศิษย์เก่ากับนักศึกษาปัจจุบันด้วย

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

[ตัวบ่งชี้ 2.1] ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

1.สถาบันมี Website ในการสืบค้นผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่เป็นของตนเอง
2.นักศึกษาสามารถค้นคว้าเล่ม IS Thesis ของนักศึกษาได้ ผ่าน Google Drive 
3.มีอาจารย์ 1 ท่านได้รับทุนวิจัยจากภายนอก
4.การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานเป็นการตีพิมพ์เผยแพร่ที่ได้รับการสนับสนุน ไม่เสียค่าใช้จ่าย 

 

[ตัวบ่งชี้ 2.2] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายใน 0.00 4.44
[2] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายนอก 200,000.00
[3] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ทั้งภายในและภายนอก [1] + [2] 200,000.00
[4] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ] 9.00
[5] จำนวนนักวิจัยประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมนักวิจัยที่ลาศึกษาต่อ] 0.00
[6] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย [3] / ([4] +[5]) 22,222.22
[7] ผลลัพธ์ที่ได้ [6] X 5 / 25000 4.44

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ทางคณะมีเงินสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก จากอาจารย์ 1 ท่าน 
ในส่วนอาจารย์ท่านอื่น อาจจะขอทุนสนับสนุนจากหน่วยงานต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย 

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = 50,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขึ้นไปต่อคน

[ตัวบ่งชี้ 2.3] ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 4 1 0 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 2.20 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 9.00
[3] จำนวนนักวิจัยประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 0.00
[4] ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ [1] X 100 / [2] + [3] 24.44
[5] ผลลัพธ์ที่ได้ [4] X 5 / 20 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

สนับสนุนให้อาจารย์ตีพิมพ์เผยแพร่ในฐานที่สูงขึ้น 

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 20 ขึ้นไป

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 2

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. สถาบันมี Website ในการสืบค้นผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่เป็นของตนเอง
  2. สถาบันมีกิจกรรมวิชาการ ห้องสมุด และพื้นที่อำนวยความสะดวกสำหรับการส่งเสริมและสนับสนุนการทำวิจัยให้กับนักศึกษาและอาจารย์
  3. อาจารย์ประจำสถาบันต่อท่าน มีผลงานตีพิมพ์เผยแพร่ สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. มีอาจารย์เพียง 1 ท่าน คือ ผศ.ดร.ศศิภัทรา ศิริวาโท เป็นอาจารย์ที่ได้รับทุนวิจัยจากภายนอกคือสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ อาจารย์ท่านอื่น อาจจะขอรับทุนสนับสนุนการทำวิจัยจากหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยรังสิต
  2. ส่งเสริมและสนับสนุนให้อาจารย์ตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับที่สูงขึ้น เช่น TCI ฐาน 1 หรือ SCOPUS

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การบริการวิชาการแก่สังคม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

การบริการวิชาการแก่สังคมเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 3

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. การบริการวิชาการแก่สังคม ที่มีการบูรณาการร่วมกับการเรียนการสอน ให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมทำให้เกิดประสบการณ์การเรียนรู้นอกห้องเรียน ซึ่งก่อให้เกิดประโยชน์ในเรื่องการพัฒนานักศึกษาอย่างชัดเจน
  2. โครงการบริการวิชาการเป็นไปตามเป้าหมายและแนวทางเดียวกับที่สถาบันที่กำหนด โดยนำองค์ความรู้ของสาขาวิชาไปพัฒนาชุมชนให้มีความเข้มแข็งและพึ่งพาตนเองได้

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ดำเนินโครงการบริการวิชาการโดยให้ลงพื้นที่ซ้ำแล้วปรับกิจกรรมให้สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมายเพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
  2. เพิ่มโครงการบริการวิชาการแบบมีรายได้ เพื่อให้รองรับแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยปี 2565-2569

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

[ตัวบ่งชี้ 4.1] ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 - 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

คำว่าวัฒนธรรม อาจหมายถึง พหุวัฒนธรรม ซึ่งการจัดให้มีกิจกรรมพนุวัฒนธรรม ไม่จำเป็นต้องกำหนดเป็นโครงการแยกจากการเรียนการสอน อาจจะเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอนก็ได้ แผนยุทธ์ศาสตร์ของมหาวิทยาลัย ปี 65 - ุ69 ยุทธศาสตร์ที่ 4 เกี่ยวข้องกับความเป็นนานาชาติ สถาบันอาจจัดเป็นกิจกรรมร่วมกับนักศึกษาไทยในมหาวิทยาลัยรังสิต และเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 4

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. สถาบันฯ มีแผนการทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรม มีโครงการในการส่งเสริมให้นักศึกษาได้เรียนรู้วัฒนธรรมที่หลากหลาย มีการจัดสรรงบประมาณในการทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรม ซึ่งสามารถวัดผลได้อย่างเป็นรูปธรรม

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. การทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรม สามารถอธิบายในรูปแบบของพหุวัฒนธรรม ซึ่งสามารถดำเนินการในรูปแบบของกิจกรรม เป็นหัวข้อหนึ่งของการเรียนการสอน และ/หรือทำร่วมกับนักศึกษาจะคณะอื่น เป็นต้น

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

[ตัวบ่งชี้ 5.1] การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 - 6 ข้อ มีการดำเนินการ 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
การจัดการความรู้ในแต่ละด้าน จำนวน
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการผลิตบัณฑิต [ยุทธ์ ฯ 1] 1
เรื่อง
  • Active Learning ผ่านการบริการวิชาการของนักศึกษา
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการวิจัย [ยุทธ์ ฯ 2] 1
เรื่อง
  • การสร้างเครือข่ายขอทุนวิจัยภายนอก
การจัดการความรู้ ด้าน Smart Organization [ยุทธ์ ฯ 3] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Internationalization [ยุทธ์ ฯ 4] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Reputation [ยุทธ์ ฯ 5]
(รวมด้านบริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม)
0
การจัดการความรู้ ด้านอื่น ๆ 0

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

การรายงานผลการดำเนินการตามแผนการบริหารความเสี่ยง มีการระบุและประเมินระดับความเสี่ยง แตไม่ได้ระบุมาตรการการลด ควบคุมหรือจำกัดความเสี่ยง

[ตัวบ่งชี้ 5.2] ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

มีระบบและกลไกในการกำกับการดำเนินการประกันคุณภาพของหลักสูตรทั้งสองหลักสูตรของสถาบันฯ มีการประเมินคุณภาพหลักสูตร และมีการนำผลการประเมินมาปรับปรุงคุณภาพหลักสูตร

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 5

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. คณะมีแนวปฏิบัติที่ดีที่สอดคล้องและบูรณาการกับการพัฒนาวิชาการและการวิจัย และการบริหารความเสี่ยง

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรมีแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคลทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุน

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม 4.07
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 1.85
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 4.44
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร 5.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 4.64

ตารางผลการวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

องค์ประกอบคุณภาพ จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 6 3.95 5.00 4.07 4.32 การดำเนินงานระดับดี
2 3 4.44 5.00 5.00 4.81 การดำเนินงานระดับดีมาก
3 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
4 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
5 2 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
ผลการประเมิน 4.07 5.00 4.54 4.64 การดำเนินงานระดับดีมาก
ระดับคุณภาพ การดำเนินงานระดับดี การดำเนินงานระดับดีมาก การดำเนินงานระดับดีมาก