รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

คณะอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม

วันที่ประเมิน: 17 ตุลาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 1.1] ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน คะแนน
[1] จำนวนหลักสูตรทั้งหมดที่คณะรับผิดชอบ
[ไม่รวมหลักสูตรที่ใช้ระบบประกันคุณภาพอื่นๆ ที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)]
3 3.68
[2] ผลรวมของค่าคะแนนประเมินของทุกหลักสูตร 11.05
[3] ผลลัพธ์ที่ได้ [2] / [1] 3.68

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.2] อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 40 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 8.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 6
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 75.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.3] อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 8.00 4.17
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 4
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 50.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 4.17

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.4] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] สามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า [ค่า FTES] รวมทุกหลักสูตร 111.13 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] 8.00
[3] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำที่เป็นจริง [1] / [2] 13.89
[4] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำแยกตามกลุ่มสาขาวิชา 25.00
[5] ร้อยละที่ได้ ([3] – [4] / [4]) X 100 -44.44
[6] ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.5] การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 1 หลักสูตรระบุว่า "เพื่อให้นักศึกษาสามารถรับบริการคำปรึกษา ในเรื่องต่างๆ เช่น การวางแผนการเรียน การทำงานภายหลังสำเร็จการศึกษา การใช้ชีวิต ตลอดจนให้คำแนะนำแก่นักศึกษาในเรื่องอื่นๆ "ทั้งนี้ในแบบประเมินไม่พบหัวข้อการทำงานภายหลังสำเร็จการศึกษา" 
ข้อ 2  ควรเพิ่มเติมข้อมูลผลการดำเนินงานให้ข้อมูลต่างๆ ทำให้นักศึกษาของคณะสามารถดำเนินการต่างๆ ได้เป็นไปตามระยะเวลา หรือตามเกณฑ์ที่กำหนดได้อย่างถุกต้อง แม่นยำ ตามระยะเวลาอย่างต่อเนื่อง ดังปรากฎในข้อที่ 3 ที่นักศึกษาสามารถรับทราบข้อมูลต่างๆ และ เข้าทำงานตามที่ประกาศได้
ข้อ 3 หลักฐานกิจกรรมเป็นหลักฐานเตรียมความพร้อมก่อนฝึกงาน ซึ่งประเด็นการประเมินผลการเตรียมความพร้อม ยังไม่สะท้อนตามที่รายงานในเล่มที่ระบุว่า ให้มีการเตรียมความพร้อมทั้งในด้านความรู้และทักษะที่จำเป็น พร้อมทั้งทักษะอื่น  ได้แก่ ด้านบุคลิกภาพ การวางตัว การเข้าสังคม การเขียน resume การสมัครงาน รวมทั้งความรู้ด้านเทคโนโลยีที่จำเป็นสำหรับการทำงาน (ซึ่งแบบประเมินเป็นการประเมินสภาพแวดล้อม เช่น เสียง เทคโนโลยี การให้บริการ ความรู้ก่อนและหลังอบรม ฯลฯ  ยังไม่เจาะจงประเมินประเด็นสำคัญสำหรับความพร้อมการทำงานเมื่อสำเร็จการศึกษา)
ข้อ 5 ขอหลักฐานประเมินคุณภาพการให้บริการของข้อมูลหน่วยงาน และ โครงการเตรียมความพร้อม ไม่พบหัวข้อการฝึกทักษะการเขียนหนังสือราชการ (หลักฐานเป็นโครงการเตรียมความพร้อมก่อนฝึกงาน)
ข้อ 6 ไม่พบหลักฐานกิจกรรมศิษย์เก่าพบรุ่นน้อง (หลักฐานเป็นหน้าเพจของคณะฯ)

[ตัวบ่งชี้ 1.6] กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
8
8
100.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 1 หลักฐานเป็นแผน ขอให้เพิ่มเติมรายงานการประชุมเพื่อแสดงให้เห็นว่า นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการจัดทำแผน แต่อย่างไรก็ตาม ในหลักฐาน อช.อ.1.1.5.6.01 พบว่ามีกิจกรรมที่ให้นักศึกษาเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมโดยเฉพาะกิจกรรม open house (ตรวจสอบความสอดคล้องของกิจกรรมที่จัดระหว่างแผนยุทธศาสตร์
การพัฒนาฯ กับ แผนปฏิบัติการคณะฯ บางกิจกรรมที่จัดไม่สอดคล้องกัน)

ข้อ 2 ตรวจสอบกิจกรรมที่รายงานในเล่ม กับ กิจกรรมที่กำหนดในแผนยุทธศาสตร์ กับ แผนปฏิบัติการคณะฯ ให้สอดคล้องกันอีกครั้ง (โดยเฉพาะกลุ่มเป้าหมายที่จัดกิจกรรมให้นั้น เป็นกลุ่มเป้าหมายที่เป็นนักศึกษาอาชญาฯ หรือไม่)
ข้อ 3 โครงการนี้ ไม่พบใน แผนดำเนินงาน รวมถึงผลประเมินโครงการเป็นแบบประเมินทั่วไปยังไม่สะท้อนตามเป้าหมายหรือกิจกรรมที่จัด และ ไม่พบการรายงานการดำเนินโครงการในรายงานผลการดำเนินงานตามแผน
ข้อ 5 ตรวจสอบจำนวนโครงการอีกครั้ง (ในแบบสรุปผลประเมินการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการโครงการพัฒนาการประจำปีการศึกษา 2565 ของคณะอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม มี 8 โครงการ)
ข้อ 6 ยังไม่พบข้อมูลที่ชัดเจน

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 1

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. ผู้บริหาร และ คณาจารย์ของคณะฯ เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ มีเครือข่ายที่เข้มแข็งที่ช่วยเสริมสร้างทักษะต่างๆ ที่สอดคล้องกับคณะวิชาให้กับนักศึกษาได้อย่างมีคุณค่า

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. อาจกำหนดเป้าหมาย หรือ กลุ่มเป้าหมายในการจัดกิจกรรมแต่ละกิจกรรมให้เจาะจงมากยิ่งขึ้น เช่น ทักษะนี้ สำหรับนักศึกษาปี 3 ทักษะนี้ สำหรับนักศึกษาปี 4 หรือ ผู้เตรียมพร้อมสำหรับสำเร็จการศึกษา เป็นต้น

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

[ตัวบ่งชี้ 2.1] ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 1 ขอให้เพิ่มเติมรายงานผลการดำเนินงานที่คณะได้จัดทำระบบประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการวิจัย เช่น ส่งผลให้อาจารย์เข้าร่วมกิจกรรมนำเสนอผลงาน หรือ อาจารย์ได้ร่วมรับทุน เป็นต้น
ข้อ 2  ขอให้เพิ่มเติมการสนับสนุนพันธกิจของคณะด้านงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ ร่วมกับส่วนกลาง
ข้อ 5 ข้อมูลคณะที่มีการพัฒนาสมรรถนะอาจารย์และนักวิจัยยังไม่ปรากฎชัด (นำเสนอผลงานของนักศึกษา)

[ตัวบ่งชี้ 2.2] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายใน 194,800.00 5.00
[2] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายนอก 420,000.00
[3] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ทั้งภายในและภายนอก [1] + [2] 614,800.00
[4] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ] 8.00
[5] จำนวนนักวิจัยประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมนักวิจัยที่ลาศึกษาต่อ] 0.00
[6] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย [3] / ([4] +[5]) 76,850.00
[7] ผลลัพธ์ที่ได้ [6] X 5 / 25000 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = 50,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขึ้นไปต่อคน

[ตัวบ่งชี้ 2.3] ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 3 3 1
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 5.20 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 8.00
[3] จำนวนนักวิจัยประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 0.00
[4] ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ [1] X 100 / [2] + [3] 65.00
[5] ผลลัพธ์ที่ได้ [4] X 5 / 20 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 20 ขึ้นไป

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 2

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีการเผยแพร่ผลงานในวารสารระดับนานาชาติ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรสนับสนุนบุคลากรทุกท่านได้รับการเผยแพร่ให้ครอบคลุมทุกท่าน

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การบริการวิชาการแก่สังคม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

มีความโดนเด่นด้านการบริการวิชาการแก่สังคมเป็นอย่างมาก ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อนักศึกษา ชุมชน สังคม 
ข้อเสอนแนะเพื่อการพัฒนา
ในส่วนเอกสารประกอบ ควรเพิ่มเติมรายละเอียดให้มากขึ้น ขยายความชัดเจนของกิจกรรมจากรูปภาพ เอกสารประกอบของงาน

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 3

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. เป็นหน่วยงานที่มีความโดดเด่น เรื่องบริการวิชาการ แก่นักศึกษา ชุมชน และสังคม โดยเฉพาะการให้ความรู้นักศึกษา ให้ทันต่อยุคสมัย ต่อสถานการณ์ แนวทางเสริมจุดแข็ง เพื่อให้ทันต่อเหตุการณ์ ที่มีการเปลียนแปลงอยู่ตลอดเวลา ทีมบุคลากรจำเป็นต้องศึกษา เรียนรู้ และสามารถปรับเปลี่ยนมาใช้กับนักศึกษาและบุคลากร อันเป็นความรู้พื้นฐานที่ดีในการใช้ชีวิตในปัจจุบัน อย่างปลอดภัย

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ประชาสัมพันธ์โครงการให้ผู้เข้าร่วม และผู้สนใจในโครงการ จากคณะและหน่วยงานในมหาวิทยาลัย เนื่องด้วยกิจกรรมและโครงการมีประโยชน์อย่างมาก เพิ่มเติมรายละเอียด และบทสรุปของการจัดงาน ทั้งเอกสารประกอบ ภาพประกอบ รวมถึงผู้เข้าร่วม หรือเอกสารอ้างอิงอื่นๆ (เพิ่มเติม)

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

[ตัวบ่งชี้ 4.1] ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 - 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

เห็นควรให้มีการศึกษาระบบการจัดการภายในเรื่องมาตรฐานด้านศิลปะและวัฒนธรรม ซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับชาติ 
ด้วยผลงานและความรู้ความสามารถ ของทางคณะ มีบุคลากรและนักศึกษาที่มีความพร้อมสามารถต่อยอดข้อกำหนดการสร้างมาตรฐานนี้ได้

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 4

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. การบูรณาการเข้ากับการเรียนการสอนในรายวิชา สังคมธรรมาธิปไตย / รายวิชาคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการด้านคอมพิวเตอร์สำหรับนิติวิทยาศาศาสตร์ /รายวิชาหลักสิทธิมนุยชน คุณธรรม จริยธรรมและหลักธรรมมาภิบาล *เป็นรายวิชาที่ควรสนับสนุนส่งเสริม เนื่องด้วยเป็นรายวิชาที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับคุณธรรมและจริยธรรม
  2. การส่งเสริมนักศึกษา ในมหาวิทยาลัยเรื่องจิตอาสา /ในบริบทกิจกรรมของทางคณะ ( ซี่งถือเป็นวัฒนธรรมองค์กรที่ดีงาม ) ควรสนับสนุนนักศึกษาทางด้านกิจกรรม ด้านจิตอาสาในมหาวิทยาลัยรังสิต ทั้งภายใน และชุมชน /เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีของสังคม

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ข้อกำหนดผู้รับผิดชอบในการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ด้วยทางคณะควรมีผู้รับผิดชอบหลักเพือประสานงาน ประชาสัมพันธ์ โครงการหรือกิจกรรม ในการมีส่วนร่วมของคณะหรือหน่วยงาน ทั้งนี้คณะกรรมการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมได้จัดตั้งเพื่อเป็นศูนย์กลางในการดำเนินกิจกรรม/โครงการ สามารถส่งรายชื่อเพื่อเข้าร่วมในการประสานงานและรับทราบข้อมูลทางวัฒนธรรม ของมหาวิทยาลัยรังสิตต่อไป
  2. การส่งเสริมผลงานด้านการศึกษา /สู่การประกวดเพื่อการส่งเสริมมาตรฐานการยอมรับในระดับชาติ (ในมิติวัฒนธรรม) ด้วยรายวิชา กิจกรรมของทางคณะสามารถที่จะส่งเสริมและผลักด้นให้มีการต่อยอดสู่การประกวด /หรือโครงการต้นแบบ ให้กับสังคม ชุมชน ประเทศชาติ ได้

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

[ตัวบ่งชี้ 5.1] การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 - 6 ข้อ มีการดำเนินการ 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
การจัดการความรู้ในแต่ละด้าน จำนวน
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการผลิตบัณฑิต [ยุทธ์ ฯ 1] 1
เรื่อง
  • หลักสูตรฝึกอบรมการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทตามพระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ.2562 (คณะกรรมการพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ (กพยช.รับรอง)
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการวิจัย [ยุทธ์ ฯ 2] 1
เรื่อง
  • หัวข้อ การจำลองสถานการณ์กราดยิงในรายวิชายุทธวิธีตำรวจ
การจัดการความรู้ ด้าน Smart Organization [ยุทธ์ ฯ 3] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Internationalization [ยุทธ์ ฯ 4] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Reputation [ยุทธ์ ฯ 5]
(รวมด้านบริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม)
0
การจัดการความรู้ ด้านอื่น ๆ 0

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น: ดำเนินการได้ครบ 7 ข้อ
1.เกณฑ์ข้อ 1. มีการรายงานและหลักฐานการวิเคราะห์ SWOT ในแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะฯ แต่ในอนาคตควรนำ SWOT มาเชื่อมโยงกับแผนการดำเนินงาน (อาจใช้เครื่องมือ เช่น TOWS Analysis) และยังไม่มีแผนกลยุทธ์ทางการเงิน


2.เกณฑ์ข้อ 2. ดำเนินการวิเคราะห์ความคุ้มค่าการบริหารหลักสูตรครบถ้วนทุกหลักสูตร มีความคุ้มค่า มีการรายงานประสิทธิภาพและประสิทธิผลการผลิตบัณฑิต อัตราการได้งานทำร้อยละ ผลประเมินความพึงพอใจผู้ใช้บัณฑิตอยู่ในระดับดีมากเฉลี่ยที่ 4.72 (ปี2564 เฉลี่ย 4.62) คณาจารย์มีผลงานตีพิมพ์ในวารสารทั้งในฐานสากลและฐาน TCI รวม 7 ฉบับ คิดเป็นอัตราร้อยละ 69.33 ของจำนวนอาจารย์ประจำ และมีทุนวิจัยภายในและภายนอกรวมต่ออาจารย์ประจำ 81,973 บาทต่อคน โดยภาพรวมถือว่ามีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล มีศักยภาพในการแข่งขัน


3.เกณฑ์ข้อ 3. มีการรายงานความเสี่ยงครอบคลุมทุกด้าน มีผลการบริหารความเสี่ยงด้านกลยุทธที่ดี คือ การเพิ่มผลงานวิชาการของคณาจารย์ การสอบภาษาอังกฤษของนักศึกษา และการอยู่ในระหว่างการขอตำแหน่งวิชาการ แต่ยังควรกำกับติดตามมาตรการลดความเสี่ยงในด้านการปฏิบัติงาน เช่น การพัฒนาบุคลากรตามแผนการพัฒนาบุคลากรเป็นรายบุคคล

4.เกณฑ์ข้อ 4. มีการรายงานแนวทางการดำเนินงานภายใต้หลักธรรมาภิบาลต่างๆ ครบถ้วน

5.เกณฑ์ข้อ 5. การจัดการความรู้ของคณะอาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม ได้กำหนดประเด็นการจัดการความรู้ไว้ครบทั้งสองพันธกิจบังคับ

6.เกณฑ์ข้อ 6. คณะมีแผนพัฒนาบุคลากรเป็นรายบุคคล แต่ควรเพิ่มการรายงานการประเมินความสำเร็จตาม KR ยุทธศาสตร์ smart organization

7.เกณฑ์ข้อ 7. มีการดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายในครบถ้วนตามระบบกลไกที่เหมาะสม ทั้งการควบคุม ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพ
มีการควบคุมตรวจสอบ และประเมินคุณภาพการดำเนินการครบถ้วนตามพันธกิจ

[ตัวบ่งชี้ 5.2] ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ภาพรวม มีการแต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพทั้งในระดับคณะ และภาควิชา มีการประชุมเตรียมความพร้อมเป็นระยะ ระหว่างหัวหน้าหลักสูตรร่วมกับคณบดีและรองคณบดี และการประชุมรายงานความก้าวหน้าเป็นวาระประกันคุณภาพในการประชุมกรรมการบริหารคณะ มีการประเมินคุณภาพทุกหลักสูตรตามกำหนดเวลาที่ผ่านองค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน และรายงานผลการประเมินต่อกรรมการบริหาร มีค่าเฉลี่ยผลการประเมินในระดับดีที่ 3.68 จาก 3 หลักสูตร และพบการแสดงหลักฐาน improvement plan ของทั้งระดับหลักสูตร และระดับวิทยาลัย
 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 5

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. คณะเปิดสอนหลักสูตรระดับปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์เป็นแห่งแรกในประเทศไทย คู่แข่งขันในสถาบันการศึกษาที่เปิดสอนหลักสูตรดังกล่าวมีจำนวนน้อย ประกอบกับปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นในปัจจุบันมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องใช้ศาสตร์ด้านอาชญาวิทยา การบริหารงานยุติธรรม และนิติวิทยาศาสตร์ประกอบการวิเคราะห์
  2. คณาจารย์มีศักยภาพสูง มีชื่อเสียงในระดับชาติ และนานาชาติ สามารถเปิดสอนหลักสูตรทั้งระดับปริญญาตรี โท และเอก แต่มีจำนวนอาจารย์ประจำเพียง 8 ท่าน อาจจะต้องมีแผนอัตรากำลังที่เหมาะสมในระยะยาว
  3. คณะมีทุนวิจัยต่ออาจารย์ประจำที่สูงกว่าเกณฑ์มาโดยตลอด อาจพิจารณาจัดการความรู้สู่แนวปฎิบัติที่ดี

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. คณะมีหลักสูตรระดับปริญญาโท และปริญญาเอก อาจพิจารณาการเพิ่มผลงานวิชาการในระดับฐานวารสารนานาชาติเพิ่มมากขึ้น เพิ่มโอกาสการได้รับ citation และ h-index
  2. คณะควรรายงานการประเมินผลการพัฒนาบุคคลากรตาม KR ยุทธศาสตร์ smart organization
  3. คณะควรรายงานผลการประเมินผู้บริหารคณะโดยอาจารย์ประจำตามหลักธรรมาภิบาล

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม 3.68
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 4.17
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร 5.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 4.83

ตารางผลการวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

องค์ประกอบคุณภาพ จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 6 4.72 5.00 3.68 4.64 การดำเนินงานระดับดีมาก
2 3 5.00 5.00 5.00 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
3 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
4 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
5 2 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
ผลการประเมิน 4.79 5.00 4.34 4.83 การดำเนินงานระดับดีมาก
ระดับคุณภาพ การดำเนินงานระดับดีมาก การดำเนินงานระดับดีมาก การดำเนินงานระดับดี