รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์และนโยบายสารธารณะ

วันที่ประเมิน: 10 ตุลาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 1.1] ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน คะแนน
[1] จำนวนหลักสูตรทั้งหมดที่คณะรับผิดชอบ
[ไม่รวมหลักสูตรที่ใช้ระบบประกันคุณภาพอื่นๆ ที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)]
2 3.71
[2] ผลรวมของค่าคะแนนประเมินของทุกหลักสูตร 7.41
[3] ผลลัพธ์ที่ได้ [2] / [1] 3.71

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์และนโยบายสาธารณะ มีหลักสูตรในปีการศึกษา 2565 เปิดสอนทั้งหมด จำนวน 2 หลักสูตร คือ 1 หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต คะแนนประเมิน 3.68 2. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร คะแนนประเมิน 3.73
ขอให้ตรวจสอบเอกสารหลักฐานใน  DBS  

[ตัวบ่งชี้ 1.2] อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 40 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 6.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 6
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 100.00
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์และนโยบายสาธารณะ มีจำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมด (นับรวมที่ลาศึกษาต่อ) จำนวน 6 คน  มีอาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก จำนวน 6 คน 
รป.อ1.1.2.01 รายชื่ออาจารย์ประจำสถาบันรัฐประศาสนศาสตร์และนโยบายสาธารณะ  เอกสารในระบบ DBS เป็น เอกสารการปรับปรุงแก้ไขรายชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสุตรและอาจารย์ประจำ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์  
ขอให้ตรวจสอบเอกสาร

[ตัวบ่งชี้ 1.3] อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 6.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 5
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 83.33
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์และนโยบายสาธารณะ มีจำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมด (นับรวมที่ลาศึกษาต่อ) จำนวน 6 คน มีจำนวนอาจารย์ประจำ ที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ จำนวน 5 คน
รป.อ1.1.2.01 รายชื่ออาจารย์ประจำสถาบันรัฐประศาสนศาสตร์และนโยบายสาธารณะ  เอกสารในระบบ DBS เป็น เอกสารการปรับปรุงแก้ไขรายชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสุตรและอาจารย์ประจำ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์  
ขอให้ตรวจสอบเอกสาร

[ตัวบ่งชี้ 1.4] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] สามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า [ค่า FTES] รวมทุกหลักสูตร 115.43 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] 6.00
[3] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำที่เป็นจริง [1] / [2] 19.24
[4] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำแยกตามกลุ่มสาขาวิชา 25.00
[5] ร้อยละที่ได้ ([3] – [4] / [4]) X 100 -23.04
[6] ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์และนโยบายสาธารณะ มีจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าทั้ง 2 หลักสูตร ดังนี้ 77.85 และ 37.58 จำนวนรวม 115.43  สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อาจารย์ประขำที่เป็นจริง เท่ากับ 19.24  
ในหน้า 21 ตารางการประเมินตนเอง ระบุ ผลการดำเนินงาน สัดส่วน 22.69 : 1  ขอให้ตรวจสอบข้อมูล

[ตัวบ่งชี้ 1.5] การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

[ตัวบ่งชี้ 1.6] กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 1

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์ และนโยยายสาธารณะ มีอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการในระดับรองศาสตราจารย์ 3 ท่าน และ ศาสตราจารย์ 2 ท่าน ซึ่งจะทำให้มีความเข้มแข็งทางวิชาการที่ได้รับการยอมรับในระดับประเทศ มีเครือข่ายในด้านรัฐประศาสนศาสตร์จำนวนมาก ที่จะช่วยสนับสนุนการทำวิจัยของนักศึกษาให้สำเร็จการศึกษาอย่างมีคุณภาพ
  2. สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์และนโยบายสาธารณะ มีจำนวนอาจารย์ประจำท้ั้งหมด (นับรวมที่ลาศึกษาต่อ) จา นวน 6 คน มีอาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก จ านวน 6 คน พบว่า ค่าร้อยละของอาจารย์ประจำ ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกเท่ากับ ร้อยละ 100.0 ทำให้มีความเข้มแข็งที่จะช่วยสนับสนุนการทำวิจัยของนักศึกษาให้สำเร็จการศึกษาอย่างมีคุณภาพ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์และนโยบายสาธารณะ ควรวางแผนปรับปรุงและพัฒนาในการดำเนินงานหลักสูตร ที่จะส่งเสริมและสนุนนักศึกษาให้ผลิตผลงาน บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ ในระดับคุณภาพที่สูงขึ้น

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

[ตัวบ่งชี้ 2.1] ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-
 

[ตัวบ่งชี้ 2.2] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายใน 0.00 5.00
[2] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายนอก 600,000.00
[3] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ทั้งภายในและภายนอก [1] + [2] 600,000.00
[4] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ] 6.00
[5] จำนวนนักวิจัยประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมนักวิจัยที่ลาศึกษาต่อ] 0.00
[6] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย [3] / ([4] +[5]) 100,000.00
[7] ผลลัพธ์ที่ได้ [6] X 5 / 25000 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = 50,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขึ้นไปต่อคน

[ตัวบ่งชี้ 2.3] ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 7 1 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 5.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 6.00
[3] จำนวนนักวิจัยประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 0.00
[4] ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ [1] X 100 / [2] + [3] 83.33
[5] ผลลัพธ์ที่ได้ [4] X 5 / 20 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

อาจารย์มีผลงานตีพิมพ์เผยแพร่สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 
สนับสนุนให้ตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานในวารสารระดับนานาชาติ 

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 20 ขึ้นไป

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 2

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. เงินสนับสนุนทุนวิจัย และ การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงาน ต่ออาจารย์ 1 ท่าน สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. การไดัรับทุนสนับสนุนงานวิจัย เป็นแหล่งเงินทุนจากภายนอกที่เป็นของเพียง 1 ท่าน สถาบันควรส่งเสริมและสนับสนุนให้อาจารย์ท่านอื่นขอทุนวิจัยจากภายในมหาวิทยาลัย
  2. สนับสนุนให้อาจารย์มีการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานระดับนานาชาติ

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การบริการวิชาการแก่สังคม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
4.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

1. มีแผนงานด้านการบริการวิชาการกำหนดไว้ในแผนของสถาบันฯ การพัฒนาคุณภาพการบริการทางวิชาการ โดยมีการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี  ไม่มีเอกสาร รปอ3.3.1.1.01 แผนบริการวิชาการของอาจารย์ประจำ  รปอ3.3.1.1.02 รายงานการประชุม
2. มีโครงการบริการวิชาการแก่สังคม จัดผ่านระบบ zoom .ในวันที่ 21 กค.2565
3. เป็นโครงการบริการวิชาการแบบให้เปล่า
4. มีการประเมินความสำเร็จตามตัวบ่งชี้ของแผน  และมีการนำผลการประเมินโครงการ รายงานต่อการประชุมคณาจารย์ประจำสถาบัน ฯ  โดยมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลเพื่อหารือให้ได้ข้อสรุปสำคัญ เป็นแนวทางพัฒนา ดังนี้ การวางแผนการลงพ้ืนที่ ชุมชน และสำรวจจากศิษยป์ ัจจุบนั และศิษยเ์ก่าเพิ่มเติมถึงความตอ้งการ เสริมสร้างองคค์วามรู้ดา้นรัฐประศาสนศาสตร์ที่จา เป็นให้แก่นกัศึกษารวมถึงกลุ่มเป้าหมายส าคญั อนั ไดแ้ก่ ชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ง
5. นำผลการสำรวจมาวิเคราะห์เพื่อวางแผนการกำหนดโครงการบริการวิชาการให้สอดคล้อง ตอบสนองต่อความต้องการได้อย่า่งมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในปีการศึกษาต่อไป
6.มีส่วนร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมใน ระดบั มหาวิทยาลยัรังสิต โดยร่วมกับกลุ่มงานวิจัยชุมชนส่วนหน้า และ เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบนัอุดมศึกษาเป็นพี่เล้ียง ซ่ึงเป็นโครงการที่ได้ร้บทุนสนบั สนุน จากกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์วิจยัและนวตักรรม จัดโดยเครือข่ายเพื่อการพัฒนาอุดมศึกษาภาคกลางตอนบนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565  สถาบันฯ ยังได้มีส่วนร่วมกับมหาวิทยาลัยรังสิต โดยรองอธิการบดีฝ่ายวิจัย ในการบริการวชิาการให้กับชุมชนหลักหกได้พ้ฒนาสภาพแวดล้อมของชุมชนโดยเฉพาะชุมชนหน้าวัดรังสิต

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 3

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีความเข้มแข็งในส่วนของอาจารย์ของของสถาบันรัฐประศาสนศาสตร์และนโยบายสาธารณะที่เป็นผู้มีชื่อเสียงได้รับการยอมรับทางวิชาการในระดับชาติ ทำให้ทางสถาบันฯมีส่วนร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมใน ระดับมหาวิทยาลัยรังสิต โดยร่วมกับกลุ่มงานวิจัยชุมชนส่วนหน้า และ เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ซ่ึงเป็นโครงการที่ได้ร้บทุนสนับสนุน จากกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์วิจยัและนวตักรรม จัดโดยเครือข่ายเพื่อการพัฒนาอุดมศึกษาภาคกลางตอนบนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยสถาบันฯ ได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการชุมชน เพื่อพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนชุมชน และ ส่งเสริมศักยภาพของประชาชนในชุมชนให้มีศักยภาพสูงเพิ่มมากยิ่งขึ้น
  2. สถาบันฯ ยังได้มีส่วนร่วมกับมหาวิทยาลัยรังสิต นำโดยรองอธิการบดีฝ่ายวิจัย ในการบริการวิชาการให้กับชุมชนหลักหกได้พ้ฒนาสภาพแวดล้อมของชุมชนโดยเฉพาะชุมชนหน้าวัดรังสิต ให้มีคุณภาพชีวิตด้านสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้น มีสุขลักษณะอนามัยที่ดีขึ้นด้วยและเป็นแผนงานสำคัญของสถาบันฯ ในอนาคตที่จะมีส่วนร่วมเป็นกำลังสำคัญในการให้บริการวิชาการแก่สังคมในระดับสถาบัน ต่อไปอย่างต่อเนื่อง

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ทางสถาบันฯ ควรสร้างโอกาสที่ได้ร้ับจากเครือข่ายองค์กรภายนอก เพื่อยกระดับความสัมพันธ์กับชุมชน และสร้างกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกับชุมชนเพิ่มมากขึ้น โดยให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน รวมถึงเป็นหน่วยงานหลักที่จะส่งเสริมและสนับสุนให้คณะวิชาต่าง ๆ ได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการบริการวิชาการในระดับมหาวิทยาลัยต่อไป

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

[ตัวบ่งชี้ 4.1] ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 - 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
3.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 1 -
ข้อ 2 ไม่พบหลักฐาน แผนปฏิบัติงานด้านศิลปะและ วัฒนธรรม หรือ แผนงานของสถาบันรัฐประศาสนศาสตร์และนโยบายสาธารณะ
มีการอ้างอิงถึง โครงการรักษ์ศิลปวัฒนธรรม รป.อ4.4.1.2.01 แต่ไม่พบหลักฐาน
ข้อ 3 -
ข้อ 4 มีการอ้างอิงถึง โครงการรักษ์ศิลปวัฒนธรรม รป.อ4.4.1.2.01 แต่ไม่พบหลักฐาน
ข้อ 5 -

การทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรม อาจจะเป็นเรื่องของพหุวัฒนธรรม ซึ่งจะสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ที่ 4 เรื่องความเป็นนานาชาติ สถาบันอาจจะทำกิจกรรมร่วมกับคณะอื่น เพื่อให้มีกิจกรรมที่เพิ่มขึ้น 
 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 4

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. -

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. การทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรม เป็นเรื่องของพหุวัฒนธรรม ซึ่งจะสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ที่ 4 เรื่องความเป็นนานาชาติ ของมหาวิทยาลัย สถาบันอาจจะทำกิจกรรมร่วมกับนักศึกษาคณะอื่น ที่มีนักศึกษาต่างชาติ เพื่อให้มีกิจกรรมที่เพิ่มขึ้น โดยไม่ต้องใช้งบประมาณของมหาวิทยาลัย  

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

[ตัวบ่งชี้ 5.1] การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 - 6 ข้อ มีการดำเนินการ 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
4.00
การจัดการความรู้ในแต่ละด้าน จำนวน
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการผลิตบัณฑิต [ยุทธ์ ฯ 1] 0
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการวิจัย [ยุทธ์ ฯ 2] 1
เรื่อง
  • การบริหารจัดการงานวิจัยโดยการทำ Work shop เพื่อสนับสนุนการทำวิจัยของนักศึกษา
การจัดการความรู้ ด้าน Smart Organization [ยุทธ์ ฯ 3] 1
เรื่อง
  • การบริหารจัดการมุ่งเน้นผลการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ
การจัดการความรู้ ด้าน Internationalization [ยุทธ์ ฯ 4] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Reputation [ยุทธ์ ฯ 5]
(รวมด้านบริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม)
0
การจัดการความรู้ ด้านอื่น ๆ 0

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

เกณฑ์ข้อ 1 ไม่พบการวิเคราะห์ SWOT ที่เป็นการวิเคราะห์เพื่อเข้าสู่แผนยุทธศาสตร์ พ.ศ. 2565-2569 (ใน SAR ยังเป็นข้อมูล ปี 2564 และไม่พบแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะ ปีการศึกษา 2565-2569 (ซึ่งสำนักงานวางแผนและพัฒนาได้กำหนดให้ทุกคณะ/วิทยาลัย/สถาบัน จัดทำแผนดังกล่าวส่งให้สำนักงานวางแผนฯ )
เกณฑ์ข้อ 2 ไม่พบหลักฐานทุนวิจัย (
สัญญาทุนการทำวิจัยของศาสตราจารย์ ดร.จรัส สุวรรณมาลา)
เกณฑ์ข้อ 4 คณะได้รายงานผลการดำเนินงานตามหลักธรรมาธิบาลด้วยผลการดำเนินงานจาก ปีการศึกษา 2564 เป็นส่วนใหญ่  มีเพียงแค่หลัก ประสิทธิภาพที่รายงานเป็นปีการศึกษา 2565 และไม่พบเอกสารหลักฐานการประเมินฯการบริหารงานของผู้บริหารสถาบัน โดยคณาจารย์ของสถาบัน (หลักฐานที่แนบมาเป็นการประเมินการบริหารงานของหลักสูตร)
เกณฑ์ข้อ 5 ไม่พบการจัดการความรู้ที่เป็นของปีการศึกษา 2565
เกณฑ์ข้อ 6 ไม่พบแผนการบริหารและแผนพัฒนาบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุน

[ตัวบ่งชี้ 5.2] ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
3.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

สถาบันควรรายงานผลการกำกับ ติดตามการประกันคุณภาพของสถาบัน ผ่านที่ประชุมคณะกรรมการประจำสถาบันพร้อมแนบเอกสารหลักฐานรายงานการประชุม ในวาระการประกันคุณภาพการศึกษา 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 5

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. -

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. สถาบันฯ ควรรายงานการวิเคราะห์ SWOT เพื่อเชื่อมโยงกับกลยุทธ์ต่างๆ ที่ใช้ในการบริหารงานตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะ พ.ศ. 2565-2569 และควรแสดงเอกสารหลักฐานแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคณะ พ.ศ. 2565-2569
  2. สถาบันฯ ควรมีแผนงานวิจัยและควรมีฐานข้อมูลงานวิจัยที่เป็นของสถาบันเอง โดยอาจดำเนินการในรูปแบบ Spread sheet ที่ระบุทุนวิจัยภายในและภายนอก ชื่ออาจารย์ประจำผู้ได้รับทุน ควรคืบหน้าของการทำงานวิจัยและการตีพิมพ์ผลงานวิจัยเพื่อใช้กำกับ ติดตามการดำเนินงานตามแผนงานวิจัยของสถาบัน
  3. สถาบันฯ ควรรายงานแผนการบริหารและแผนการพัฒนาบุคลากรเป็นรายบุคค (IDP) เพื่อประเมินความสำเร็จตาม KR ในยุทธศาสตร์ Smart Organization
  4. สถาบันฯ ควรรายงานแนวปฏิบัติที่ดีอันเป็นผลมาจากการจัดการความรู้อย่างน้อย ในพันธกิจการผลิตบัณฑิตและพันธกิจการวิจัย
  5. สถาบันฯ ควรรายงานผลการประเมินคณะผู้บริหารของสถาบัน โดยคณาจารย์ของสถาบัน เพื่อใช้ประกอบการรายงานผลการบริหารงานตามหลักธรรมาธิบาล
  6. สถาบันฯ ควรรายงานการบริหารระบบการประกันคุณภาพของคณะให้ครบถ้วนในทุกเกณฑ์ย่อย ด้วยข้อมูลปีการศึกษา 2565 และแสดงเอกสารหลักฐานแผนการปรับปรุงแผนการดำเนินงาน (Improvement Plan) ทั้งระดับหลักสูตร และระดับสถาบัน

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม 3.71
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม 4.00
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 3.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ 4.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร 3.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [11 ตัวบ่งชี้] 4.34

ตารางผลการวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

องค์ประกอบคุณภาพ จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 4 5.00 N/A 3.71 4.68 การดำเนินงานระดับดีมาก
2 3 5.00 5.00 5.00 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
3 1 - 4.00 - 4.00 การดำเนินงานระดับดี
4 1 - 3.00 - 3.00 การดำเนินงานระดับพอใช้
5 2 - 3.50 - 3.50 การดำเนินงานระดับพอใช้
ผลการประเมิน 5.00 3.80 4.36 4.34 การดำเนินงานระดับดี
ระดับคุณภาพ การดำเนินงานระดับดีมาก การดำเนินงานระดับดี การดำเนินงานระดับดี