รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

วิทยาลัยฮอสปิตอลลิตี้

วันที่ประเมิน: 4 ตุลาคม 2567, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 1.1] ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน คะแนน
[1] จำนวนหลักสูตรทั้งหมดที่คณะรับผิดชอบ
[ไม่รวมหลักสูตรที่ใช้ระบบประกันคุณภาพอื่นๆ ที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)]
8 3.45
[2] ผลรวมของค่าคะแนนประเมินของทุกหลักสูตร 27.58
[3] ผลลัพธ์ที่ได้ [2] / [1] 3.45

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

หลักสูตรสาขาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ และหลักสูตรสาขาวิชาการท่องเที่ยว การบริการ และกีฬา ควรร่วมกันพิจารณาถึงองค์ประกอบที่ได้ผลประเมินต่ำ เพื่อพัฒนายกศักยภาพในด้านนั้นให้สูงขึ้น

[ตัวบ่งชี้ 1.2] อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 40 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 33.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 16
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 48.48
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.3] อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 33.00 2.27
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 9
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 27.27
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 2.27

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ควรวางแผนสำหรับผู้ที่มีศักยภาพสนับสนุนในการทำงานวิจัย เพื่อสะสมผลงานในการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ

[ตัวบ่งชี้ 1.4] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] สามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า [ค่า FTES] รวมทุกหลักสูตร 491.80 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] 33.00
[3] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำที่เป็นจริง [1] / [2] 14.90
[4] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำแยกตามกลุ่มสาขาวิชา 25.00
[5] ร้อยละที่ได้ ([3] – [4] / [4]) X 100 -40.40
[6] ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.5] การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

1. วิทยาลัยได้จัดโครงการพัฒนาคุณภาพนักศึกษาทั้งการใช้ชีวิตและให้คำปรึกษาทางวิชาการผ่านระบบอาจารย์ที่ปรึกษา การจัดปฐมนิเทศรวมของวิทยาลัย และแยกตามสาขาวิชา กิจกรรม Homeroom ของนักศึกษาชั้นปีืั้ 1 ถึงชั้นปีที่ 4 เพื่อให้คำปรึกษาทั้งทางวิชาการและการใช้ชีวิต นอกจากนี้ยังมีเข้ค่ายพัฒนานักศึกษาใหม่ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ระหว่างรุ่นพี่-รุ่นน้อง
2. หลักสูตรมีช่องทางในการให้ข้อมูลกิจกรรมนอกหลักสูตรต่างๆ 5 กิจกรรม และมีนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมรวมกว่า 1,000 คน  เช่น การแข่งขันตอบคำถามระดับชาติด้านการท่องเที่ยวและการบริการ แต่อย่างไรก็ตาม ควรมีข้อมูลด้านแหล่งงาน การฝึกงานเสนอด้วยจะทำให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
3. หลักสูตรมีหลายกิจกรรมเพื่อเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษาในการทำงาน ทั้งการจัดกิจกรรมปัจฉิมนิเทศ และอีกหลายกิจกรรม เช่น การใช้ภาษาอังกฤษในงานบริการ เป็นต้น
4. วิทยาลัยมีการประเมินทุกโครงการและไม่ต่ำกว่า 3.51
5. วิทยาลัยได้นำผลการประเมิน หรือปัญหา เพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนาการดำเนินงาน

6. -

[ตัวบ่งชี้ 1.6] กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
4
4
100.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

1. ข้อมูลที่วิทยาลัยเสนอจะเห็นว่าคณะกรรมการสโมสรนักศึกษาของวิทยาลัยมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนานักศึกษา 
2. วิทยาลัยได้จัดกิจกรรมหลายโครงการ ซึ่งส่งเสริมและพัฒนาบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิทั้ง 5 ด้าน
3. วิทยาลัยได้ส่งนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ QA for Fun และยังได้จัดกิจกรรมให้ความรู้และทักษะการประดันคุณภาพการศึกษาซึ่งเสริมในกิจกรรมย่อยต่างๆ
4. วิทยาลัยมีการประเมินผลสำเร็จผลสำเร็จของกิจการทั้งเชิงปริมาณ และเชิงการได้รับประโยชน์ ซึ่งเป็นไปตามวัตถุประสงค์
5. -
6. วิทยาลัยได้สรุปผลการประเมิน และสรุปปัญหาอุปสรรคข้อเสอนแนะ เพื่อเป็นข้อมูลในการนำไปปรับปรุง

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 1

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. วิทยาลัยมีกิจกรรมพัฒนานักศึกษาที่หลากหลายกิจกรรม ครอบคลุมการพัฒนาทักษะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิทั้ง 5 ด้าน โดยเฉพาะการจัดกิจกรรมเข้าค่าย เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างรุ๋นพี่รุ่นน้อง เกิดการและเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
  2. วิทยาลัยมีการกำหนดคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา 6 ด้าน ซึ่งถือว่าเป็นจุดเด่นที่ดีมาก แต่อย่างไรก็ตามถ้าได้มีการประเมินผลของบัณฑิตให้เป็นรูปธรรมที่ชัดเจน โดยเกิดผลลัพธ์ตามคุณลักษณะพิเศษนี้ได้จะนำไปสู่แนวปฏิบัติที่ดีได้

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. จัดทำแผนการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ และมีการติดตามหรือรายงานการดำเนินงานของผู้ที่อยู่ในแผน เช่น อาจจะต้องรายงานทุก 3 เดือน หรือ 6 เดือน เพื่อกระตุ้นให้เกิดผลเป็นรูปธรรม
  2. วิทยาลัยมีการเปิดดำเนินการรวม 5 สาขาวิชามี 1 หลักสูตรที่ได้ผลประเมิน 4.05 อาจจะจัดสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อยกระดับในหลักสูตรอื่นๆ ของวิทยาลัย ก็อาจจะทำให้การจัดการเรียนการสอนมีคุณภาพดียี่งขึ้น นอกจากนี้ยังทำให้ภาพรวมในระดับวิทยาลัยมีคะแนนประเมินที่สูงขึ้น

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

[ตัวบ่งชี้ 2.1] ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 2.2] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายใน 22,350.00 0.54
[2] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายนอก 67,050.00
[3] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ทั้งภายในและภายนอก [1] + [2] 89,400.00
[4] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ] 33.00
[5] จำนวนนักวิจัยประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมนักวิจัยที่ลาศึกษาต่อ] 0.00
[6] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย [3] / ([4] +[5]) 2,709.09
[7] ผลลัพธ์ที่ได้ [6] X 5 / 25000 0.54

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = 50,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขึ้นไปต่อคน

[ตัวบ่งชี้ 2.3] ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 2 6 10 2 6
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 16.40 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 33.00
[3] จำนวนนักวิจัยประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 0.00
[4] ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ [1] X 100 / [2] + [3] 49.70
[5] ผลลัพธ์ที่ได้ [4] X 5 / 20 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 20 ขึ้นไป

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 2

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. อาจารย์มีผลงานวิจัยจำนวนมาก และตีพิมพ์ในฐานข้อมูลที่มีคุณภาพระดับสูง

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. จำนวนเงินทุนวิจัยมีจำนวนน้อย ควรเสนอขอทุนวิจัยจากสถาบันวิจัยหรือแหล่งเงินทุนภายนอกแหล่งอื่น

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การบริการวิชาการแก่สังคม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 1. ผ่าน มีข้อสังเกต คือ ทางวิทยาลัยอ้างอิงแผนบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย แต่ไม่พบการจัดทำแผนบริการวิชาการเป็นของวิทยาลัยเอง พบเพียงแผนปฏิบัติการประจำปี ดังนั้น ในปีหน้าควรแยกแผนการบริการวิชาการ ออกจากแผนปฏิบัติการประจำปี และสามารถบรรจุการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการไว้ในแผน รวมทั้งประเมินความสำเร็จตามตัวบ่งชี้ของแผนและโครงการบริการวิชาการ
ข้อ 2. ผ่าน มีข้อสังเกต เช่นเดียวกับ ข้อ 1 เมื่อมีการจัดทำแผนบริการวิขาการ ก็สามารถบรรจุแผนการใช้ประโยชน์ที่ได้จากการทำโครงการ และควรพัฒนาชุมชนให้สามารถเลี้ยงตัวเองได้ แบบยั่งยืน
ข้อ 3. ผ่าน
ข้อ 4. ผ่าน
ข้อ 5. ผ่าน มีข้อสังเกต คือ การนำผลประเมินมาปรับปรุง ในปีหน้า ทั้งด้านบูรณาการกับการเรียนการสอน และการทำผลงานวิชาการ ดังนั้น ถ้าจะให้เห็นผลลัพธ์ในเชิงประจักษ์ จึงควรมีผลงานวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ และอาจผลิตผลงานร่วมกันระหว่างอาจารย์และนักศึกษา
ข้อ 6. ผ่าน

หมายเหตุ ทางวิทยาลัยได้เขียนจุดเด่นไว้ว่ามีเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานทางด้านวิชาชีพในการให้บริการวิชาการ ซึ่งน่าจะนำมาเขียนรายงานด้วยว่าร่วมมือด้านใดบ้าง และเกิดประโยชน์อะไรบ้างในการบริการชุมชน

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 3

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. -

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรจัดทำแผนการบริการวิชาการแยกออกจากแผนปฏิบัติการประจำปี โดยเริ่มจากการวิเคราะห์ SWOT กำหนดวัตถุประสงค์ของแผน และตัวชี้วัดความสำเร็จให้ชัดเจน
  2. ทางวิทยาลัยควรร่วมกันหาแนวทางส่งเสริมให้มีผลงานวิชาการทางด้านบริการวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ ซึ่งอาจผลิตผลงานร่วมกันระหว่างอาจารย์และนักศึกษา เพื่อให้เห็นผลลัพธ์ในเชิงประจักษ์

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

[ตัวบ่งชี้ 4.1] ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 - 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 1. ผ่าน 
ข้อ 2. ผ่าน มีข้อสังเกต เช่นเดียวกับแผนบริการวิชาการ ควรจัดทำแผนด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม แยกออกจากแผนปฏิบัติการ และกำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย เพื่อประเมินความสำเร็จของแผนที่ได้ตั้งไว้
ข้อ 3. ผ่าน มีข้อสังเกต คือ การกำกับติดตามจากการประชุมคณะกรรมการบริหาร ควรแนบรายงานการประชุมด้วย
ข้อ 4. ผ่าน มีข้อสังเกต คือ ข้อนี้ ประเมินความสำเร็จตามตัวบ่งชี้ที่วัดความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผน ดังนั้น ต้องระบุวัตถุประสงค์มีอะไรบ้าง ใช้วิธีอะไรประเมิน ได้ผลอย่างไรบ้าง
ข้อ 5. ผ่าน
ข้อ 6. ผ่าน

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 4

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. ผู้บริหารและคณาจารย์ให้ความสำคัญและสอดแทรกกิจกรรมด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการเรียนการสอน ผสมผสานกับโครงการ แสดงให้เห็นถึงความเป็นไทย ในการผลิตบัณฑิตให้มีจิตใจเอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน
  2. วิทยาลัยมีระบบและกลไกชัดเจน มีคณะกรรมการที่รับผิดชอบด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมหลากหลายจากทั้ง 5 สาขา รวมถึงเจ้าหน้าที่และนักศึกษามีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรร่วมกันสร้างผลงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการบริการวิชาการและการวิจัยให้มีความเชื่อมโยงกัน
  2. ในปีต่อไป ควรกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จของแผน ให้ท้าทายมากขึ้น นอกจากจะวัดเพียงจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 80% และ ความพึงพอใจไม่ต่ำกว่า 3.51 อาจวัดความสำเร็จในเรื่องของการมีผลงาน หรือสร้างนวัตกรรมทางด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมของนักศึกษา

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

[ตัวบ่งชี้ 5.1] การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 - 6 ข้อ มีการดำเนินการ 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
การจัดการความรู้ในแต่ละด้าน จำนวน
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการผลิตบัณฑิต [ยุทธ์ ฯ 1] 1
เรื่อง
  • การออกแบบกระบวนการเรียนการสอนที่มุ่งให้นักศึกษามีความคิดเชิงสร้างสรรค์ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่ม
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการวิจัย [ยุทธ์ ฯ 2] 1
เรื่อง
  • การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาสู่การบูรณาการด้านงานวิจัย
การจัดการความรู้ ด้าน Smart Organization [ยุทธ์ ฯ 3] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Internationalization [ยุทธ์ ฯ 4] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Reputation [ยุทธ์ ฯ 5]
(รวมด้านบริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม)
0
การจัดการความรู้ ด้านอื่น ๆ 0

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 5.2] ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 5

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. คณะมีการบริหารหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลทุกหลักสูตร

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรมีการกำหนดแผนพัฒนาบุคลากรเป็นรายบุคคลให้ชัดเจน ซึ่งสามารถใช้ระบบ IDP ของมหาวิทยาลัย
  2. มีการวางแผนในการขอทุนสนับสนุนงานวิจัย เพื่อลดความเสี่ยงด้านเงินทุนวิจัยที่มีจำนวนน้อย

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม 3.45
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 2.27
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 0.54
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร 5.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 4.33

ตารางผลการวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

องค์ประกอบคุณภาพ จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 6 4.09 5.00 3.45 4.29 การดำเนินงานระดับดี
2 3 0.54 5.00 5.00 3.51 การดำเนินงานระดับดี
3 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
4 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
5 2 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
ผลการประเมิน 3.20 5.00 4.23 4.33 การดำเนินงานระดับดี
ระดับคุณภาพ การดำเนินงานระดับพอใช้ การดำเนินงานระดับดีมาก การดำเนินงานระดับดี