รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

คณะเทคนิคการแพทย์

วันที่ประเมิน: 3 ตุลาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 1.1] ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน คะแนน
[1] จำนวนหลักสูตรทั้งหมดที่คณะรับผิดชอบ
[ไม่รวมหลักสูตรที่ใช้ระบบประกันคุณภาพอื่นๆ ที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)]
1
[2] ผลรวมของค่าคะแนนประเมินของทุกหลักสูตร
[3] ผลลัพธ์ที่ได้ [2] / [1]

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

[ตัวบ่งชี้ 1.2] อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 40 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 39.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 26
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 66.67
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ในรายการหลักฐาน ทน.อ1.1.2.01 รายชื่ออาจารย์ประจำคณะเทคนิคการแพทย์ ปีการศึกษา 2565 ระบุมีอาจารย์รวม 39 ท่าน
มีอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ 3 ท่าน ปรากฎในรายการหลักฐานนั้น 
มีอาจารย์ที่มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอก 26 ท่าน

[ตัวบ่งชี้ 1.3] อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 39.00 4.49
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 21
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 53.85
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 4.49

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ในรายการหลักฐาน ทน.อ1.1.3.01 เอกสารแต่งตั้งการดำรงตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์คณะเทคนิคการแพทย์ ระบุตำแหน่ง ศ. 1 ท่าน รศ. 6 ท่าน และ ผศ. 15 ท่าน

 

[ตัวบ่งชี้ 1.4] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] สามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า [ค่า FTES] รวมทุกหลักสูตร 291.03 4.75
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] 36.00
[3] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำที่เป็นจริง [1] / [2] 8.08
[4] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำแยกตามกลุ่มสาขาวิชา 8.00
[5] ร้อยละที่ได้ ([3] – [4] / [4]) X 100 1.00
[6] ผลลัพธ์ที่ได้ 4.75

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำของคณะใน ตบช  = 8.08 
ข้อกำหนดให้คู่มือประเมินเพื่อการรับรองหลักสูตรเทคนิคการแพทย์ จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ < 1:8 
เป็นประเด็นเฝ้าระวัง??? 

[ตัวบ่งชี้ 1.5] การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.6] กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
8
8
100.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-ข้อ 3 ขอให้เพิ่มเติมจำนวนนักศึกษา/นักศึกษาที่ได้เข้าร่วมอบรมการพัฒนาทักษะเกี่ยวกับการประกันคุณภาพ
 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 1

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีการวางแผน และดำเนินงานด้านการพัฒนานักศึกษาอย่างเป็นระบบ สอดคล้องกับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย คณะ และหลักสูตร ครอบคลุมผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ต้องการ และคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์
  2. คณะมีการจัดการระบบฐานข้อมูลนักศึกษาอย่างเป็นระบบ ซึ่งสนับสนุน/ส่งเสริม การให้คำปรึกษา ตลอดจนการติดตามช่วยเหลือนักศึกษาได้เป็นอย่างดี

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรวางแผนเรื่องกำลังคน โดยฉพาะประเด็นอาจารย์ผู้สอน โดยคำนึงถึงข้อกำหนดของสภาวิชาชีพ

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

[ตัวบ่งชี้ 2.1] ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

1. มีระบบและกลไกในการบริหารและพัฒนางานวิจัยอย่างครบถ้วน ทั้งของอาจารย์และนักศึกษา
2. ควรมีความร่วมมือทางด้านการจัดประชุมวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติเพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัยและความก้าวหน้าทางวิชาการ
3. ในเว็บไซด์คณะควรมีการประกาศยกย่องอาจารย์ที่มีผลงานดีเด่นด้านงานวิจัย

[ตัวบ่งชี้ 2.2] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายใน 1,369,160.52 4.09
[2] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายนอก 104,243.98
[3] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ทั้งภายในและภายนอก [1] + [2] 1,473,404.50
[4] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ] 36.00
[5] จำนวนนักวิจัยประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมนักวิจัยที่ลาศึกษาต่อ] 0.00
[6] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย [3] / ([4] +[5]) 40,927.90
[7] ผลลัพธ์ที่ได้ [6] X 5 / 50000 4.09

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = 50,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขึ้นไปต่อคน

[ตัวบ่งชี้ 2.3] ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 2 1 1 9
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 11.20 4.79
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 39.00
[3] จำนวนนักวิจัยประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 0.00
[4] ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ [1] X 100 / [2] + [3] 28.72
[5] ผลลัพธ์ที่ได้ [4] X 5 / 30 4.79

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ระดับการเผยแพร่ในหลักฐาน ควรใช้ scopus pubmed

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 20 ขึ้นไป

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 2

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. คณะเทคนิคการแพทย์มีระบบการสนับสนุนและส่งเสริมการทำวิจัยอย่างเข้มแข็งของทั้งนักศึกษาและอาจารย์อย่างเป็นระบบ
  2. อาจารย์ได้ทำการขอทุนวิจัยและได้มีเงินทุนวิจัยจากทั้งภายนอกและภายในสถาบันเพิ่มมากขึ้น
  3. คณาจารย์มีผลงานวิจัยที่มีคุณภาพและสามารถตีพิมพ์เผยแพร่ในการประชุมวิชาการและในวารสารระดับชาติและนานาชาติเป็นจำนวนมาก

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ผลงานวิชาการยังเป็นอาจารย์ชุดเดิมที่มีงานวิจัยเป็นประจำทุกปี
  2. จำนวนอาจารย์ที่ได้ทุนวิจัยยังน้อย ควรหาแนวทางกระตุ้นให้อาจารย์ที่ยังไม่มีผลงานวิจัยและอาจารย์รุ่นใหม่ให้ขอทุนวิจัยมากขึ้น
  3. ให้อาจารย์รุ่นใหม่ ได้ร่วมทำวิจัยกับอาจารย์ผู้มีประสบการณ์ และร่วมกันเขียนผลงานวิชาการเพื่อเป็นผลงานของอาจารย์และทำให้อาจารย์รุ่นใหม่มีประสบการณ์ในการทำวิจัยและเขียนผลงานเพื่อตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การบริการวิชาการแก่สังคม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 3

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีการดำเนินโครงการบริการวิชาการแบบให้เปล่าทั้งแบบ online และ onsite

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรมีการพัฒนาโครงการบริการวิชาการที่สามารถสร้างรายรับให้แก่คณะฯ

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

[ตัวบ่งชี้ 4.1] ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 - 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ขอ "รายงานการประชุมกรรมการคณะ ที่มีการประเมินผลการจัดกิจกรรมและการปรับปรุงด้านการทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรม"

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 4

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีโครงการทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรมที่ครอบคลุมทุกด้านและมีความโดดเด่น เช่น 1. โครงการด้านการส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรมไทย 2. โครงการสร้างจิตสานึกในการทำนุบำรุง ปกป้องรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3. โครงการที่ส่งเสริมความเป็นอัตลักษณ์ของคณะเทคนิคการแพทย์ 4. โครงการคัดแยกขยะที่ส่งเสริมการสร้างจิตสำนึกและตระหนักในด้านสิ่งแวดล้อม

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. -

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

[ตัวบ่งชี้ 5.1] การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 - 6 ข้อ มีการดำเนินการ 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
การจัดการความรู้ในแต่ละด้าน จำนวน
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการผลิตบัณฑิต [ยุทธ์ ฯ 1] 1
เรื่อง
  • สื่อการสอนออนไลน์ ถูกใจวัยโจ๋
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการวิจัย [ยุทธ์ ฯ 2] 2
เรื่อง
  • เทคนิคและเคล็ดลับการเขียนขอจริยธรรมในคน
  • การขอทุนวิจัยโครงการภายใต้แผนงานร่วมทุนสนับสนุนการพัฒนาสุขภาวะ (สสส.) จ.ปทุมธานี
การจัดการความรู้ ด้าน Smart Organization [ยุทธ์ ฯ 3] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Internationalization [ยุทธ์ ฯ 4] 1
เรื่อง
  • ส่งเสริมการเรียนการสอนโดยใช้ภาษาต่างประเทศ
การจัดการความรู้ ด้าน Reputation [ยุทธ์ ฯ 5]
(รวมด้านบริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม)
0
การจัดการความรู้ ด้านอื่น ๆ 0

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

1. คณะมีการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลครบทั้ง 10 ประการ โดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์
2. มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงครอบคลุมรอบด้าน และมีการดำเนินการเพื่อให้ความเสี่ยงลดลง โดยเฉพาะในเรื่องการพัฒนา ทักษะภาษาอังกฤษของนักศึกษา
3. มีระบบการจัดการความรู้ และมีการค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีทั้งในด้านการเรียนการสอน การวิจัย และความเป็นนานาชาติ

[ตัวบ่งชี้ 5.2] ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

คณะมีการกำกับการดำเนินการประกันคุณภาพหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ โดยมีการตรวจประเมินเพื่อขอรับรองหลักสูตรจากสภาวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ เมื่อ พ.ศ. 2564 ซึ่งรับรองหลักสูตรเป็นเวลา 5 ปี (พ.ศ. 2565-2569) 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 5

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. คณะมีการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลครบทั้ง 10 ประการ โดยมีหลักฐานเชิงประจักษ์
  2. มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงครอบคลุมรอบด้าน และมีการดำเนินการเพื่อให้ความเสี่ยงลดลง โดยเฉพาะในเรื่องการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของนักศึกษา
  3. แนวปฏิบัติที่ดีในด้านการผลิตบัณฑิต และความเป็นนานาชาติ โดยได้รับรางวัลชมเชย 2 รางวัล จากการร่วมจัดส่งผลงานการถอดประสบการณ์ความรู้ของโครงการการจัดการความรู้ฯ ประจำปีการศึกษา 2565 ของคณะฯ ให้กับมหาวิทยาลัยรังสิต เพื่อนำไปเผยแพร่ในงานการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยในชื่อธีมงาน คือ “แนวปฏิบัติที่ดี Good Practice ประจำปี 2565” นั้น ส่งผลให้มีผลงานของคณะเทคนิคการแพทย์ได้รับรางวัลชมเชยจำนวนทั้งสิ้น 2 รางวัล ได้แก่ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้หัวข้อ เรื่อง “สื่อการสอนออนไลน์ ถูกใจวัยโจ๋” และ เรื่อง “ส่งเสริมการเรียนการสอนโดยใช้ภาษาต่างประเทศ"

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. -

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม N/A
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 4.49
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ 4.75
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 4.09
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย 4.79
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร 5.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [12 ตัวบ่งชี้] 4.84

ตารางผลการวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

องค์ประกอบคุณภาพ จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 5 4.75 5.00 N/A 4.85 การดำเนินงานระดับดีมาก
2 3 4.09 5.00 4.79 4.63 การดำเนินงานระดับดีมาก
3 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
4 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
5 2 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
ผลการประเมิน 4.58 5.00 4.79 4.84 การดำเนินงานระดับดีมาก
ระดับคุณภาพ การดำเนินงานระดับดีมาก การดำเนินงานระดับดีมาก การดำเนินงานระดับดีมาก