รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

คณะเทคนิคการแพทย์

วันที่ประเมิน: 4 ตุลาคม 2567, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 1.1] ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน คะแนน
[1] จำนวนหลักสูตรทั้งหมดที่คณะรับผิดชอบ
[ไม่รวมหลักสูตรที่ใช้ระบบประกันคุณภาพอื่นๆ ที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)]
[2] ผลรวมของค่าคะแนนประเมินของทุกหลักสูตร
[3] ผลลัพธ์ที่ได้ [2] / [1]

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

[ตัวบ่งชี้ 1.2] อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 40 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 41.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 27
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 65.85
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ไม่มี

[ตัวบ่งชี้ 1.3] อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 41.00 4.07
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 20
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 48.78
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 4.07

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ควรกำหนดเป้าหมายแต่ละปีในการพัฒนาบุคลากรให้อาจารย์เข้าสู่ตำแหน่งวิชาการมากขึ้น โดยส่งเสริมในด้านการทำวิจัยและเผยแพร่ผลงานวิจัย

[ตัวบ่งชี้ 1.4] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] สามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า [ค่า FTES] รวมทุกหลักสูตร 400.22 0.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] 41.00
[3] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำที่เป็นจริง [1] / [2] 9.76
[4] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำแยกตามกลุ่มสาขาวิชา 8.00
[5] ร้อยละที่ได้ ([3] – [4] / [4]) X 100 22.00
[6] ผลลัพธ์ที่ได้ 0.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

เนื่องจากคณะมีจำนวนนักศึกษาเพิ่มขึ้นมากกว่าเกณฑ์ที่กำหนด จึงควรพิจารณาสัดส่วนของอาจารย์ประจำให้เหมาะสม

[ตัวบ่งชี้ 1.5] การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

คณะมีระบบและกลไกในการบริการนักศึกษาเป็นอย่างดี ทั้งในด้านการเตรียมความพร้อมก่อนและหลังการศึกษา มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของนักศึกษา มีการให้ข้อมูลผ่านสื่อออนไลน์ที่ช่วยให้นักศึกษาได้รับข้อมูลข่าวสารด้านต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ รวมถึงมีการประเมินผลของการดำเนินการเพื่อการพัฒนาปรับปรุงอย่างเป็นรูปธรรม

[ตัวบ่งชี้ 1.6] กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
20
7
35.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

คณะมีการพัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 5 ด้าน จำนวน  7 โครงการ ซึ่งบรรลุผลตามตัวชี้วัดและวัตถุประสงค์ทุกโครงการ

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 1

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. คณะมีระบบและกลไกในการเตรียมความพร้อมของนักศึกษาทั้งก่อนและหลังการศึกษา มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของนักศึกษา มีการให้ข้อมูลผ่านสื่อออนไลน์ที่ช่วยให้นักศึกษาได้รับข้อมูลข่าวสารด้านต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ รวมถึงมีการประเมินผลของการดำเนินการเพื่อการพัฒนาปรับปรุงอย่างเป็นรูปธรรม
  2. คณะมีการพัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 5 ด้าน

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรกำหนดเป้าหมายแต่ละปีในการพัฒนาบุคลากรให้อาจารย์เข้าสู่ตำแหน่งวิชาการมากขึ้น โดยส่งเสริมในด้านการทำวิจัยและเผยแพร่ผลงานวิจัย
  2. เนื่องจากคณะมีจำนวนนักศึกษาเพิ่มขึ้นมากกว่าเกณฑ์ที่กำหนด จึงควรพิจารณาด้านการวางแผนอัตรากำลังเพื่อให้มีสัดส่วนของนักศึกษาต่ออาจารย์ประจำที่เหมาะสม
  3. คณะควรมีแนวทางแก้ปัญหาเกี่ยวกับจำนวนผู้สำเร็จการศึกษาให้เป็นไปตามเกณฑ์ เพื่อแก้ปัญหาสัดส่วน FTES
  4. คณะควรพิจารณาประเมินกิจกรรมย่อยต่างๆ ในโครงการที่เกี่ยวเนื่องกับการพัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ เพื่อประโยชน์ในการปรับปรุง พัฒนากิจกรรมในโอกาสต่อไป

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

[ตัวบ่งชี้ 2.1] ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

มีการดำเนินการครบทั้ง 6 ด้าน โดยเฉพาะด้านพัฒนาสมรรถนะอาจารย์ มีความหลากหลายและครอบคลุมทุกด้าน

[ตัวบ่งชี้ 2.2] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายใน 171,200.00 2.36
[2] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายนอก 797,320.00
[3] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ทั้งภายในและภายนอก [1] + [2] 968,520.00
[4] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ] 41.00
[5] จำนวนนักวิจัยประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมนักวิจัยที่ลาศึกษาต่อ] 0.00
[6] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย [3] / ([4] +[5]) 23,622.44
[7] ผลลัพธ์ที่ได้ [6] X 5 / 50000 2.36

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = 50,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขึ้นไปต่อคน

[ตัวบ่งชี้ 2.3] ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 1 0 9
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 9.60 3.90
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 41.00
[3] จำนวนนักวิจัยประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 0.00
[4] ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ [1] X 100 / [2] + [3] 23.41
[5] ผลลัพธ์ที่ได้ [4] X 5 / 30 3.90

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 20 ขึ้นไป

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 2

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. คณะเทคนิคการแพทย์มีระบบและกลไกในการบริหารจัดการงานวิจัยที่ดีมาก มีความพร้อมในการทำงานวิจัย จึงควรส่งเสริมอาจารย์รุ่นใหม่ให้พร้อมเข้าสู่การทำงานวิจัยทดแทนอาจารย์รุ่นเก่า
  2. งานวิจัยจำนวนมากเหมาะสมพัฒนาเป็นนวัตกรรมและนำไปสู่การจดสิทธิบัตร

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. -

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การบริการวิชาการแก่สังคม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 3

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. คณะมีการบริการวิชาการแก่สังคมทั้งแบบให้เปล่าและมีรายได้ โดยเฉพาะการจัดอบรมหลักสูตรระยะสั้นผ่านสื่อออนไลน์ Facebook live และ Zoom ที่มีผู้เข้าร่วมอบรมจำนวนมาก
  2. คณะมีโครงการบริการวิชาการที่เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วม ซึ่งช่วยเสริมประสบการณ์วิชาชีพโดยตรงให้แก่นักศึกษา

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. คณะสามารถพัฒนาการจัดอบรมระยะสั้นแบบมีรายได้ทั้งแบบ onsite และผ่านสื่อ Online

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

[ตัวบ่งชี้ 4.1] ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 - 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

มีการดำเนินงานครบทุกด้าน แต่การควบคุมการดำเนินงานควรมีรายงานการประชุมของกรรมการคณะ

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 4

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีการดำเนินการด้านศิลปวัฒนธรรม ที่หลากหลายและครบทุกด้านสำหรับนักศึกษา ในด้านการทำนุศิลปวัฒนธรรมสำหรับบุคลากรอาจมีการบรรยายหรือ เสวนาหัวข้อทางวัฒนธรรมที่กำลังเป็นหัวข้อที่สังคมสนใจ
  2. ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่คณะเคยทำและมีความโดดเด่นควรทำต่อเนื่องและพัฒนาจนเป็นที่ยอมรับในระดับชาติ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. -

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

[ตัวบ่งชี้ 5.1] การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 - 6 ข้อ มีการดำเนินการ 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
การจัดการความรู้ในแต่ละด้าน จำนวน
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการผลิตบัณฑิต [ยุทธ์ ฯ 1] 1
เรื่อง
  • การจัดการเรียนการสอนชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมโดยใช้ภาษาอังกฤษ
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการวิจัย [ยุทธ์ ฯ 2] 2
เรื่อง
  • How to get published in Q1 journal? (ตีพิมพ์อย่างไรให้ได้ Q1)
  • แนวทางการขอทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก
การจัดการความรู้ ด้าน Smart Organization [ยุทธ์ ฯ 3] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Internationalization [ยุทธ์ ฯ 4] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Reputation [ยุทธ์ ฯ 5]
(รวมด้านบริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม)
0
การจัดการความรู้ ด้านอื่น ๆ 0

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

1. มีการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT) เพื่อการพัฒนาแผนกลยุทธ์ของคณะ
2. มีการวิเคราะห์ข้อมูลต้นทุนต่อหน่วยในการดำเนินงานของหลักสูตร
3. มีการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง มีการวิเคราะห์และระบุปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลต่อการดำเนินงานตามพันธกิจของคณะ และมีการกำหนดมาตรการที่ทำให้ระดับความเสี่ยงลดลงจากเดิม
4. มีการบริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาลอย่างครบถ้วนทั้ง 10 ประการ
5. มีแนวปฏิบัติที่ดีจากความรู้ทั้งที่มีอยู่ในตัวบุคคล ซึ่งครอบคลุมพันธกิจด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจัย
6. มีการกำกับติดตามผลการดำเนินงานตามแผนการบริหารและแผนพัฒนาบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุน (IDP) 
7. มีการดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายในตามระบบและกลไกที่เหมาะสมและสอดคล้องกับพันธกิจและพัฒนาการของคณะ

 

[ตัวบ่งชี้ 5.2] ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

1. มีระบบและกลไกในการกำกับการดำเนินการประกันคุณภาพหลักสูตรให้เป็นไปตามองค์ประกอบการประกันคุณภาพหลักสูตรอย่างครบถ้วน
2. มีคณะกรรมการกำกับมาตรฐานวิชาการ และคณะกรรมการหลักสูตร ในการติดตามการดำเนินงานให้เป็นไปตามระบบที่กำหนดในข้อ 1 และรายงานผลการติดตามให้กรรมการประจำคณะเพื่อพิจารณาทุกภาคการศึกษา
3. มีการจัดสรรทรัพยากรเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของหลักสูตร ทั้งจากคณะเองและจากระบบสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่มหาวิทยาลัยดูแลจัดเตรียมให้
4. มีการประเมินคุณภาพหลักสูตรตามกำหนดเวลา และรายงานผลการประเมินให้กรรมการประจำคณะเพื่อพิจารณา
5. มีการนำผลการประเมินและข้อเสนอแนะจากกรรมการกำกับมาตรฐานวิชาการ ที่เสนอต่อกรรมการหลักสูตร เพื่อนำมาปรับปรุงหลักสูตรให้มีคุณภาพดีขึ้น และจากนั้นกรรมการหลักสูตรจะเสนอแผนการปรับปรุงหลักสูตรต่อกรรมการประจำคณะต่อไป
6. มีผลการประเมินคุณภาพทุกหลักสูตรผ่านองค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐานอย่างครบถ้วน 

 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 5

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีการบริหารงานที่ใช้หลักธรรมาภิบาลอย่างครบถ้วน
  2. ใช้หลักการบริหารความเสี่ยงในการพัฒนานักศึกษา และการพัฒนาคุณภาพคณาจารย์
  3. หลักสูตรของคณะได้รับการกำกับ ติดตาม ประเมิน และให้การรับรองโดยสภาเทคนิคการแพทย์ เป็นระยะเวลา 5 ปีการศึกษา (2565-2569)

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. คณะควรพัฒนาแผนการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์เป็นรายบุคคลให้ชัดเจน

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม N/A
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 4.07
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ 0.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 2.36
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย 3.90
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร 5.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [12 ตัวบ่งชี้] 4.19

ตารางผลการวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

องค์ประกอบคุณภาพ จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 5 3.02 5.00 N/A 3.81 การดำเนินงานระดับดี
2 3 2.36 5.00 3.90 3.75 การดำเนินงานระดับดี
3 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
4 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
5 2 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
ผลการประเมิน 2.86 5.00 3.90 4.19 การดำเนินงานระดับดี
ระดับคุณภาพ การดำเนินงานระดับพอใช้ การดำเนินงานระดับดีมาก การดำเนินงานระดับดี