รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

คณะนิติศาสตร์

วันที่ประเมิน: 4 ตุลาคม 2567, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 1.1] ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน คะแนน
[1] จำนวนหลักสูตรทั้งหมดที่คณะรับผิดชอบ
[ไม่รวมหลักสูตรที่ใช้ระบบประกันคุณภาพอื่นๆ ที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)]
4 3.42
[2] ผลรวมของค่าคะแนนประเมินของทุกหลักสูตร 13.68
[3] ผลลัพธ์ที่ได้ [2] / [1] 3.42

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.2] อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 40 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 21.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 11
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 52.38
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.3] อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 21.00 1.98
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 5
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 23.81
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 1.98

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ศาสตราจารย์ 2 ท่าน รองศาสตราจารย์ 1 ท่าน และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 2 ท่าน
 

[ตัวบ่งชี้ 1.4] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] สามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า [ค่า FTES] รวมทุกหลักสูตร 631.48 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] 21.00
[3] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำที่เป็นจริง [1] / [2] 30.07
[4] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำแยกตามกลุ่มสาขาวิชา 50.00
[5] ร้อยละที่ได้ ([3] – [4] / [4]) X 100 -39.86
[6] ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.5] การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 1 การจัดบริการให้คำปรึกษา
         คณะฯ ได้นำเสนอข้อมูลว่ากระบวนการดำเนินงานทั้ง 4 โครงการมีการประเมินโดย นักศึกษา  ทั้งใน ในท้ายผลการดำเนินงานแต่ละกิจกรรมทั้ง 4 กิจกรรม อาจนำคะแนนผลการประเมิน มานำเสนอให้ทราบถึงผลการดำเนินงานให้เห็นได้ชัดเจนมากขึ้นในรายงานผลการดำเนินงาน และ รายงานผลการดำเนินงานว่า เมื่อจัดกิจกรรมให้คำปรึกษาทางวิชาการ โดยผ่านระบบอาจารย์ที่ปรึกษาแล้วนั้น ผลการดำเนินการเป็นอย่างไร นศ.มีอัตราการตกออกลดลง หรือ นศ.มีผลการเรียนดีขึ้น  

ข้อ 2 
         เพิ่มเติมการนำเสนอช่องทางการให้ข้อมูลของหน่วยงานฯ เช่น ในส่วนของโครงการสหกิจศึกษา คณะ ได้ทำฐานข้อมูลให้ นศ.เข้าดูได้ ผ่านช่องทางใด   

ข้อ 3 
         เพิ่มเติมเป้าหมายของการจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อม เมื่อสำเร็จการศึกษาแก่นักศึกษาให้ชัดเจนเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ ในกิจกรรม ที่ 2 - 5 ยังไม่ชัดเจนในเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของกิจกรรมว่าเป็นการเตรียมความพร้อมเพื่อสำเร็จฯ หรือ เป็นกิจกรรมเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ หรือ ฯลฯ อาจนำเสนอถึงผลการดำเนินงานในการจัดกิจกรรม เช่น รายงานผลการประเมินเป็นคะแนนความพึงพอใจ หรือ นักศึกษาสามารถมีงานทำได้เกินกว่า ร้อยละ 80  เป็นต้น  ซึ่งจะต้องนำผลการประเมินในการจัดกิจกรรมข้อ 3 นี้ ไปประกอบการพิจารณาในข้อ 5 ต่อไป

ข้อ 4 
         การรายงานคะแนนเฉลี่ย ในกิจกรรมข้อ 1 - 3 นั้น เป็นคะแนนเฉลี่ยจากทุกกิจกรรมหรือไม่

ข้อ 5  
         การนำผลการประเมินมาปรับปรุงนั้น ข้อมูลที่นำเสนออาจยังไม่สอดคล้องกับข้อมูลในข้อ 1-4 เช่น มีการปรับปรุงกระบวนการจัดกิจกรรมช่วงรับน้องประชุมเชียร์ ซึ่งไม่พบในรายงานข้อมูลในข้อ 1  อาจหยิบยกประเด็นใดประเด็นหนึ่งที่มีผลประเมินน้อยที่สุด มากำหนดเป้าหมาย / แนวทางการปรับปรุงฯ ในประเด็นนั้นๆ ให้ชัดเจนเพิ่มเติม

ข้อ 6
         ควรเพิ่มเติมการรายงานผลการดำเนินงานให้ความรู้ ที่เป็นประโยชน์แก่ศิษย์เก่า เช่น ทำให้ศิษย์เก่าได้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างกันอย่างต่อเนื่อง หรือ ทำให้ศิษย์เก่าได้มีผลการปฏิบัติงาน หรือ ได้เข้ารับการอบรมเพิ่มเติมมากขึ้น เป็นต้น 

 

[ตัวบ่งชี้ 1.6] กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
2.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อสังเกต
ข้อ 1 ยังไม่พบข้อมูลที่ชัดเจนเกี่ยวกับการดำเนินงานของคณะ โดยให้นักศึกษาเข้าร่วมจัดทำแผนและเข้าร่วมกิจกรรมในระดับคณะ (พบข้อมูลที่ชัดเจนในส่วนของการมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่มหาวิทยาลัยกำหนดเข้าร่วม) แต่อย่างไรก็ตามในส่วนของกิจกรรมคณะ ดังรายงานใน 1.5 ยังไม่พบข้อมูลที่ชัดเจน   + การรายงานผลการประเมินการดำเนินงานเพื่อนำไปใช้ข้อ 4   

ข้อ 2 ผลการดำเนินงานด้านคุณลักษณะทางปัญญา ควรปรับการนำเสนอข้อมูล (เช่น คณะอาจยังไม่มีกิจกรรมที่ส่งเสริมนักศึกษาฯ... )  เนื่องจาก คณะฯ มีกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณลักษณะทางปัญญาตามองค์ความรู้นิติศาสตร์ จำนวนมาก ที่ส่งเสริมให้ นศ.ได้มีความสามารถในการวิเคราะห์สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับทางนิติศาสตร์ โดยอาศัยความรู้ ความสามารถ และ ทักษะอื่นๆ ประกอบกัน เพื่อให้เป็นนักกฎหมาย นักนิติศาสตร์ที่มีคุณค่าของมหาวิทยาลัยรังสิต + การรายงานผลการประเมินเพื่อนำไปใช้ข้อ 4

ข้อ 3 ควรเพิ่มเติมข้อมูลการจัดกิจกรรมในรูปแบบใด และ การนำมาใช้ประโยชน์นั้น พร้อมผลการใช้ประโยชน์นั้น  + ผลการประเมินฯ เพื่อนำไปใช้ในข้อ 4 ต่อไป

ข้อ 4 ควรนำเสนอผลผลการประเมินในรายงานตอนท้ายทุกกิจกรรม + ไม่พบรายงานข้อมูลการนำผลการประเมินมาประกอบการวางแผนการปรับปรุง หรือ ปรับปรุง หรือ การนำผลปี 2565 มาเป็นแนวทางการปรับปรุงการดำเนินงานในปี 66 นี้  

ข้อ 6 ตรวจสอบข้อมูลการนำเสนอในรายงาน โดยเฉพาะปีการศึกษา อีกครั้ง


**ขอให้หลักสูตร เพิ่มเติมรายการเอกสารหลักฐานที่ได้ระบุไว้ในเล่ม SAR แต่ไม่พบในระบบ DBS ดังนี้
ข้อ 1
- นต.อ1.1.6.1.01 แผนกิจกรรมพัฒนานักศึกษาของคณะนิติศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2566

- นต.อ1.1.6.1.02 แผนปฏิบัติงานประจำปี 2566 คณะนิติศาสตร์
- นต.อ1.1.6.1.03 เพจเฟซบุคคณะฯ กลุ่มไลน์คณะฯ กลุ่มไลน์ผู้ปกครองนักศึกษา กลุ่มไลน์นักศึกษา
- นต.อ1.1.6.1.04 โครงการของคณะนิติศาสตร์ ปีการศึกษา 2566


ข้อ 2
นต.อ1.1.5.3.02 โครงการของคณะนิติศาสตร์ ปีการศึกษา 2566

ข้อ 5
- นต.อ1.1.6.1.02  แผนปฏิบัติงานประจำปี 2566 คณะนิติศาสตร์  

ข้อ 6
- นต.อ1.1.6.1.02 แผนปฏิบัติงานประจำปี 2566  คณะนิติศาสตร์
- นต.อ1.1.6.6.01 แผนยุทธศาสตร์ของคณะฯ

 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 1

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. คณะนิติศาสตร์ มีกิจกรรมเพื่อสนับสนุนนักศึกษา และ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมกับหน่วยงานภายนอก อย่างต่อเนื่อง และมีผลในระดับชาติ ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการส่งเสริมพัฒนาคุณลักษณะของนักศึกษาที่สำคัญได้ทั้ง 5 ด้านอย่างเข้มแข็ง

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. การติดตาม ผลการจัดกิจกรรมที่ได้ดำเนินการต่างๆ อย่างต่อเนื่อง และ อาจนำประโยชน์ที่ได้รับจากการสร้างเครือข่ายภายนอก มาร่วมบูรณาการให้เข้มแข็ง ยั่งยืน เพื่อประโยชน์ทั้งนักศึกษา และ อาจารย์ของคณะ และยังสร้างการมีส่วนร่วมการวิจัย หรือ ส่วนร่วมในเชิงวิชาการ เช่น การทำวิจัย หรือ ฯลฯ ต่อไป

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

[ตัวบ่งชี้ 2.1] ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

- มีการส่งเสริมให้อาจารย์จำนวน 2 ท่านเข้าร่วมงานประชุมวิชาการที่ต่างประเทศ ซึ่งเป็นการสะท้อนถึงความสำเร็จในด้านการเผยแพร่ผลงานวิจัย
 

[ตัวบ่งชี้ 2.2] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายใน 226,000.00 5.00
[2] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายนอก 800,000.00
[3] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ทั้งภายในและภายนอก [1] + [2] 1,026,000.00
[4] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ] 21.00
[5] จำนวนนักวิจัยประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมนักวิจัยที่ลาศึกษาต่อ] 0.00
[6] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย [3] / ([4] +[5]) 48,857.14
[7] ผลลัพธ์ที่ได้ [6] X 5 / 25000 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = 50,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขึ้นไปต่อคน

[ตัวบ่งชี้ 2.3] ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 1 1 13 0 4
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 12.40 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 21.00
[3] จำนวนนักวิจัยประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 0.00
[4] ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ [1] X 100 / [2] + [3] 59.05
[5] ผลลัพธ์ที่ได้ [4] X 5 / 20 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 20 ขึ้นไป

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 2

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีทุนสนับสนุนงานวิจัยจากแหล่งทุนภายนอกเป็นจำนวนมาก
  2. มีผลงานวิจัยตีพิมพ์เผยแพร่ทั้งระดับชาติและนานาชาติ
  3. มีศูนย์วิจัยด้านกฏหมายเพื่อสนับสนุนงานด้านวิจัย

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. -

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การบริการวิชาการแก่สังคม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 2 ควรเพิ่มเป้าหมายของแผนการใช้ประโยชน์ และ ผลที่เกิดขึ้นตามแผนการใช้ฯ นั้น มีความสอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดหรือไม่ อย่างไร
 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 3

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. คณะฯ มีการดำเนินงานด้านบริการวิชาการที่เข้มแข็ง ชัดเจน มีการรายงานผลที่ขัดเจน อาจกล่าวได้ว่าเป็นแนวปฏิบัติที่ดีในระดับสถาบั แ และในระดับชาติ ต่อไปได้

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. อาจนำเสนอข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการกำหนดกลุ่มเป้าหมายในการจัดบริการวิชาการในแต่ละกิจกรรม เช่น กิจกรรมการอบรมกฎหมายฯ มีเจ้าหน้าที่รัฐ อาจระบุให้ชัดเจน ว่าเป็นระดับบริหาร หรือ เป็นเจ้าหน้าที่รัฐในส่วนงานใด หรือ ฯลฯ
  2. หน้า 77 - 78 หัวข้อ 1.2 การประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ ไม่แน่ใจว่า ข้อมูลที่คณะนำเสนอคะแนนว่าควรอยู่ในระดับ 4 หรือ 4.5 ไม่แน่ใจว่าเป็นผลประเมินจากการจัดกิจกรรม หรือ ผลประเมินจากแหล่งใด ควรระบุให้ชัดเจน หรือ ควรใช้คะแนนจากการดำเนินการประเมินที่แท้จริง

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

[ตัวบ่งชี้ 4.1] ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 - 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
3.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

1. คณะนิติศาสตร์ ได้ดำเนินการตามเกณฑ์ 4 ข้อ คือข้อ 1-3 และข้อ 6 ก็ตาม
2. คณะนิติศาสตร์ ได้ดำเนินกิจการดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง ก่อให้เกิดคุณค่าร่วม (Commom Value) ระหว่างคณาจารย์กับนักศึกษา เช่น กิจการไหว้ครู และกิจการะลึกวันระพี รวมทั้งโครงการเปิดคลินิคกฎหมายอีกด้วย
3. โครงการวันรพี เป็นโครงการสำคัญระดับชาติสำหรับบุคคลสำคัญทางด้านกฎหมาย เพื่อการสืบสานวัฒนธรรม ( Culture Value) สำหรับสถาบัน องค์กร บุคคลทีมีอาชีพนักกฎหมายต่างระลึกจากท่านระพีสืบต่อกันจากคนรุ่นหนึ่งสู่คนรุ่นหนึ่ง 

 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 4

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. -

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรมีการประเมินผลกิจกรรม/แผนด้านการทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรม ตามตัวชี้วัดความสำเร็จของแผนแล้วนำมาปรับปรุงแผนฯ ในปีการศึกษาถัดไป เพื่อให้เกิดการพัฒนาพันธกิจด้านการทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรมอย่างต่อเนื่อง

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

[ตัวบ่งชี้ 5.1] การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 - 6 ข้อ มีการดำเนินการ 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
4.00
การจัดการความรู้ในแต่ละด้าน จำนวน
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการผลิตบัณฑิต [ยุทธ์ ฯ 1] 1
เรื่อง
  • เปิดใจนักศึกษา ม.รังสิตกับคลินิคกฎหมาย
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการวิจัย [ยุทธ์ ฯ 2] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Smart Organization [ยุทธ์ ฯ 3] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Internationalization [ยุทธ์ ฯ 4] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Reputation [ยุทธ์ ฯ 5]
(รวมด้านบริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม)
0
การจัดการความรู้ ด้านอื่น ๆ 0

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 5.2] ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-
 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 5

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. -

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. คณะฯ ไม่มีการดำเนินการด้านการจัดการความรู้ในด้านต่าง ๆ ตามที่กำหนดไว้ในแผนฯ ระดับสถาบัน

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม 3.42
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 1.98
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี 2.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 3.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ 4.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร 5.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 4.18

ตารางผลการวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

องค์ประกอบคุณภาพ จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 6 3.99 3.50 3.42 3.73 การดำเนินงานระดับดี
2 3 5.00 5.00 5.00 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
3 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
4 1 - 3.00 - 3.00 การดำเนินงานระดับพอใช้
5 2 - 4.50 - 4.50 การดำเนินงานระดับดี
ผลการประเมิน 4.25 4.14 4.21 4.18 การดำเนินงานระดับดี
ระดับคุณภาพ การดำเนินงานระดับดี การดำเนินงานระดับดี การดำเนินงานระดับดี