รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

คณะบริหารธุรกิจ

วันที่ประเมิน: 3 ตุลาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 1.1] ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน คะแนน
[1] จำนวนหลักสูตรทั้งหมดที่คณะรับผิดชอบ
[ไม่รวมหลักสูตรที่ใช้ระบบประกันคุณภาพอื่นๆ ที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)]
11 3.51
[2] ผลรวมของค่าคะแนนประเมินของทุกหลักสูตร 38.59
[3] ผลลัพธ์ที่ได้ [2] / [1] 3.51

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

          หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มีผลประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาสูงสุดคือ 4.01 ซึ่งสามารถใช้เป็นแนวทางในการช่วยพัฒนาหลักสูตรอื่นของคณะให้มีผลประเมินที่สูงขึ้นได้
 

[ตัวบ่งชี้ 1.2] อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 40 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 49.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 21
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 42.86
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

         จำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกมีสัดส่วนที่ค่อนข้างสูง 
 

[ตัวบ่งชี้ 1.3] อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 49.00 1.02
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 6
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 12.24
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 1.02

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

         จำนวนผู้ที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการค่อนข้างน้อย เมื่อเทียบกับจำนวนอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก เห็นว่าคณะมีศักยภาพในการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ ควรร่วมกันวิเคราะห์เพื่อหาแนวทาง ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินการในอนาคต
 

[ตัวบ่งชี้ 1.4] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] สามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า [ค่า FTES] รวมทุกหลักสูตร 1290.00 3.67
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] 49.00
[3] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำที่เป็นจริง [1] / [2] 26.33
[4] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำแยกตามกลุ่มสาขาวิชา 25.00
[5] ร้อยละที่ได้ ([3] – [4] / [4]) X 100 5.32
[6] ผลลัพธ์ที่ได้ 3.67

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

         คณะมีการดำเนินการในเรื่องการรับนักศึกษาที่สอดคล้องกับจำนวนอาจารย์
 

[ตัวบ่งชี้ 1.5] การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

         - มีกิจกรรมเตรียมความพร้อมเพื่อการทำงานที่น่าสนใจ ที่จะทำให้นักศึกษาพร้องเข้าสู่โลกการทำงาน
 

[ตัวบ่งชี้ 1.6] กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
5
5
100.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

         - กิจกรรมที่ส่งเสริมคุณลักษณะบัณฑิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ เป็นกิจกรรมที่บูรณาการองค์ความรู้ตั้งแต่ชั้นปีที่ 1 ถึงชั้นปีสุดท้าย เป็นประโยชน์ต่อนักศึกษาอย่างชัดเจน
         - การให้ความรู้ตามรายงานจะเน้นที่นักศึกษาระดับปริญญาตรี 6 หลักสูตรเท่านั้น
         - คณะดำเนินการสรุปโครงการตามวัตถุประสงค์ทุกโครงการ
 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 1

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. อาจารย์ของคณะมีคุณวุฒิปริญญาเอกในสัดส่วนที่สูงซึ่งแสดงถึงความมีศักยภาพของอาจารย์
  2. คณะมีการจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมในการทำงานที่น่าสนใจ ลักษณะของโครงการเป็นการพัฒนาความพร้อมของนักศึกษาอย่างบูรณาการ ควรมีการจัดอย่างต่อเนื่อง

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. การจัดทำแผนงานเพื่อให้อาจารย์เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ โดยอาจจะทำเป็นแผนพัฒนารายบุคคลตั้งแต่การวางแผนการทำผลงานวิจัยเพื่อเผยแพร่ผลงานตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

[ตัวบ่งชี้ 2.1] ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

          - ข้อ 5 อาจจะเพิ่มเติมการสนับสนุนให้คณาจารย์รับการอบรมด้านการวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือการผลิตผลงานวิชาการต่าง ๆ
 

[ตัวบ่งชี้ 2.2] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายใน 0.00 0.57
[2] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายนอก 138,750.00
[3] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ทั้งภายในและภายนอก [1] + [2] 138,750.00
[4] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ] 49.00
[5] จำนวนนักวิจัยประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมนักวิจัยที่ลาศึกษาต่อ] 0.00
[6] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย [3] / ([4] +[5]) 2,831.63
[7] ผลลัพธ์ที่ได้ [6] X 5 / 25000 0.57

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = 50,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขึ้นไปต่อคน

[ตัวบ่งชี้ 2.3] ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 73 1 17 4 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 28.40 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 49.00
[3] จำนวนนักวิจัยประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 0.00
[4] ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ [1] X 100 / [2] + [3] 57.96
[5] ผลลัพธ์ที่ได้ [4] X 5 / 20 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

          - หลักฐานควรจะเป็นไฟล์บทความ หรือ หน้าสารบัญของวารสาร, การประชุมวิชาการ
 

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 20 ขึ้นไป

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 2

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีระบบและกลไกด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่ชัดเจน
  2. มีจำนวนชิ้นผลงานวิจัยมาก ซึ่งมีทั้งในระดับชาติและนานาชาติ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ผลงานวิจัยส่วนใหญ่ เป็นงานในระดับบัณฑิตศึกษา (ชื่อร่วมนักศึกษาและอาจารย์) มีเพียงไม่กี่ชิ้นที่เป็นชื่ออาจารย์เท่านั้น จึงควรมีการสนับสนุนให้อาจารย์ทำจึงควรมีการสนับสนุนให้อาจารย์ทำผลงานวิชาการเพิ่มขึ้น
  2. ปีการศึกษา 2565 ไม่มีการขอสนับสนุนทุนวิจัยทั้งมาภายใน

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การบริการวิชาการแก่สังคม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

          - ควรทำแผนบริการวิชาการ ของบริหารธุรกิจแยกต่างหาก เนื่องจากมีโครงการบริการวิชาการหลายโครงการแต่ไม่ได้อยู่ในแผนบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย (มี 2 โครงการในแผนบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย)
         - ข้อ 6 เพิ่มเติมข้อมูลที่นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในโครงการต่างๆ และหลักฐานเพิ่มเติม 
 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 3

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีระบบและกลไก มีแผนบริการวิชาการ ซึ่งมีการให้บริการวิชาการแบบให้เปล่า และแบบมีรายรับ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรแยกแผนบริการวิชาการของคณะต่างหาก

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

[ตัวบ่งชี้ 4.1] ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 - 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

          1. ได้มีการกำหนดผู้รับผิดชอบในงานด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม
          2. ได้ประชุมหารือกับคณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และคณะกรรมการนักศึกษา เพื่อระดมความคิดจัดทำแผนด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ให้สอดคล้องตามอัตลักษณ์และบริบทของคณะโดยได้รับความร่วมมือจากคณะกรรมการบริหารคณะ สถาบันศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาสังคม
          3. ผู้รับผิดชอบทำการกำกับติดตามให้มีการดำเนินงานเกิดขึ้นตามแผนให้ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งโครงการ และถ้าในระหว่างการดำเนินโครงการนั้นยังไม่เสร็จสิ้นหรือมีข้อจำกัดต่างๆ ในส่วนของโครงการนั้น ทางคณะดำเนินงานก็จะทำการพูดคุย หารือ หรือเสวนากลุ่มย่อยเพื่อแก้ไขข้อผิดพลาดเพื่อให้โครงการนั้นประสบผลสำเร็จ
          4. มีการประเมินความสำเร็จตัวบ่งชี้วัดความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ของการดำเนินการทุกกิจกรรม เมื่อแล้วเสร็จได้จัดทำรูปเล่มการประเมินกิจกรรมตามตัวชี้วัดในแผนด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
          5. ได้นำผลการประเมินที่ได้จากรายงานผลการประเมินตามแผนการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ทั้งปัญหา อุปสรรค การนำข้อเสนอแนะ จุดเด่น จุดด้อย มาปรับปรุงแก้ไขเพื่อนำไปใช้ในการประกอบการพัฒนา ปรับปรุงแผนและรูปแบบของการจัดกิจกรรมในปีการศึกษาถัดไป
          6. ได้เผยแพร่การดำเนินกิจกรรมด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ต่อสาธารณชนผ่านช่องทางโซเชียลมีเดียอย่างเป็นทางการของคณะฯ 

 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 4

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. คณะบริหารธูรกิจ มีความเข้มแข็งในการจัดทำโครงการและจัดสรรงบประมาณในการดำเนินโครงการรูปแบบพหุวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมในปีการศึกษา 2565 หลายโครงการ เช่น 1. โครงการเรียนรู้ร่วมกันในความเป็นนานาชาติระหว่างนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ 2. โครงการ English Exchange 2022 (International Activity) 3. โครงการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาด้านพัฒนาความเป็นสากลและพัฒนางานวิจัย นวัตกรรม ผู้ประกอบการ ภายใต้ความร่วมมือระหว่างคณะบริหารธุรกิจ (สาขาวิชาการจัดการ) วิทยาลัยวิศวกรรมชีวการแพทย์ และวิทยาลัยการออกแบบ 4. ความร่วมมือทางวิชาการ (Joint Projects in Business Program) ระหว่างคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต และ FPT University ประเทศเวียดนาม 5. โครงการบริหารฯ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (ครั้งที่ 14)
  2. คณะบริหารธูรกิจได้เผยแพร่การดำเนินกิจกรรมด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ต่อสาธารณชนผ่านช่องทางโซเชียลมีเดียอย่างเป็นทางการของคณะฯ หลายช่องทาง
  3. คณะบริหารธูรกิจมีทีมงานที่รับผิดชอบมีความเข้มแข็ง โดยมีการกำกับติดตามให้มีการดำเนินงานประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ และในระหว่างการดำเนินโครงการนั้นยังไม่เสร็จสิ้นหรือมีข้อจำกัดต่างๆ ในส่วนของโครงการนั้น ทางคณะก็จะทำการพูดคุย หารือ หรือเสวนากลุ่มย่อยเพื่อแก้ไขข้อผิดพลาดเพื่อให้โครงการนั้นประสบผลสำเร็จ อีกทั้งยังมีการประเมินความสำเร็จตัวบ่งชี้วัดความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ของการดำเนินการทุกกิจกรรม เมื่อแล้วเสร็จได้จัดทำรูปเล่มการประเมินกิจกรรมตามตัวชี้วัดในแผนด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม และได้นำผลการประเมินที่ได้จากรายงานผลการประเมินตามแผนการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ทั้งปัญหา อุปสรรค การนำข้อเสนอแนะ จุดเด่น จุดด้อย มาปรับปรุงแก้ไขเพื่อนำไปใช้ในการประกอบการพัฒนา ปรับปรุงแผนและรูปแบบของการจัดกิจกรรมในปีการศึกษาถัดไป

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรเปิดโอกาสให้นักศึกษาเป็นผู้นำในการจัดกิจกรรมหรือโครงการส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรมให้มากขึ้น โดยให้สร้างความร่วมมือกับชุมชน หน่วยงานภายนอก โดยมีคณาจารย์ฝ่ายกิจการนักศึกษาคอยดูแลแนะนำ ให้คำปรึกษา ก็จะทำให้การส่งเสริมเกิดผลขยายวงกว้างเพื่อต่อยอดไประดับชาติต่อไป

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

[ตัวบ่งชี้ 5.1] การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 - 6 ข้อ มีการดำเนินการ 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
การจัดการความรู้ในแต่ละด้าน จำนวน
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการผลิตบัณฑิต [ยุทธ์ ฯ 1] 1
เรื่อง
  • การพัฒนาทักษะการตัดสินใจทางธุรกิจโดยใช้เกมจำลองสถานการณ์ทางธุรกิจ (Business Simulation Game)
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการวิจัย [ยุทธ์ ฯ 2] 1
เรื่อง
  • บทบาทผู้นำต่อการผลักดันงานวิจัย
การจัดการความรู้ ด้าน Smart Organization [ยุทธ์ ฯ 3] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Internationalization [ยุทธ์ ฯ 4] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Reputation [ยุทธ์ ฯ 5]
(รวมด้านบริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม)
0
การจัดการความรู้ ด้านอื่น ๆ 0

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

          - ข้อ 3 ในปีการศึกษาถัดไป ขอให้คณะเพิ่มเติมมาตราการการจัดการความเสี่ยงด้านตำแหน่งทางวิชาการ
 

[ตัวบ่งชี้ 5.2] ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 5

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีโครงสร้างการบริหารคณะที่ชัดเจน โดยมีหน้าที่และภารกิจในการวางแผนการดำเนินงานของคณะให้เป็นไปตามพันธกิจภายใต้กรอบของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยรังสิต
  2. ผู้บริหารฯหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจะต้องจัดทำรายงาน PDCA สำหรับโครงการ/กิจกรรมที่ได้ดำเนินการไปแล้ว เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการให้เกิดความเหมาะสม และทำให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ โดยหัวหน้าสาขาจะเป็นผู้จัดการรายงาน PDCA เพื่อนำเสนอต่อผู้บริหารคณะ สำนักงานวางแผนและคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย เพื่อรับทราบในความสำเร็จของการดำเนินงาน

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. อาจารย์ดำรงค์ตำแหน่งทางวิชาการมีน้อย ควรมีการพัฒนาอาจารย์เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการในระดับสูงขึ้น จะต้องปรับมาตรการเพื่อให้การพัฒนาประสบความสำเร็จ บรรลุเป้าหมาย เช่น การทำวิจัยเป็นทีม การปรับภาระงานในแต่ละภาคการศึกษา การส่งเสริมให้ทำผลงานในลักษณะอื่นนอกเหนือจากวิจัย เป็นต้น

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม 3.51
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 1.02
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ 3.67
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 0.57
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร 5.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 4.14

ตารางผลการวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

องค์ประกอบคุณภาพ จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 6 3.23 5.00 3.51 3.87 การดำเนินงานระดับดี
2 3 0.57 5.00 5.00 3.52 การดำเนินงานระดับดี
3 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
4 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
5 2 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
ผลการประเมิน 2.57 5.00 4.26 4.14 การดำเนินงานระดับดี
ระดับคุณภาพ การดำเนินงานระดับพอใช้ การดำเนินงานระดับดีมาก การดำเนินงานระดับดี