รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

คณะบริหารธุรกิจ

วันที่ประเมิน: 15 ตุลาคม 2567, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 1.1] ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน คะแนน
[1] จำนวนหลักสูตรทั้งหมดที่คณะรับผิดชอบ
[ไม่รวมหลักสูตรที่ใช้ระบบประกันคุณภาพอื่นๆ ที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)]
11 3.52
[2] ผลรวมของค่าคะแนนประเมินของทุกหลักสูตร 38.67
[3] ผลลัพธ์ที่ได้ [2] / [1] 3.52

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

คณะมีทั้งหมด 11 หลักสูตร โดยผลการดำเนิงานของหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตมีผลประเมินสูงสุด 4.03 ในขณะที่ต่ำสุดเป็นหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน ผลประเมิน 3.18 คณะควรจัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อยกระดับการดำเนินงาน โดยเฉพาะตัวบ่งชี้เชิงคุณภาพ

[ตัวบ่งชี้ 1.2] อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 40 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 49.00 4.08
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 16
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 32.65
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 4.08

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.3] อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 49.00 0.51
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 3
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 6.12
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 0.51

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ถ้าเทียบจำนวนอาจารย์ในปัจจุบัน จะต้องมีอาจารย์ที่จะเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการอีกอย่างน้อย 30 คน ถึงจะได้คะแนนเต็ม ซึ่งเป็นไปได้ยาก แต่อย่างไรคณะมีหลักสูตรทั้งระดับปริญญาโท และปริญญาเอก ซึ่งมีโอกาสผลักดันให้ผลิตผลงานวิจัยที่มีคุณภาพและตีพิมพ์ผลงานในวารสารทั้งในและต่างประเทศ นอกจากนี้ควรวางแผนสำหรับผู้ที่มีศักยภาพสนับสนุนในการทำงานวิจัย เพื่อสะสมผลงานในการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ

[ตัวบ่งชี้ 1.4] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] สามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า [ค่า FTES] รวมทุกหลักสูตร 1197.71 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] 49.00
[3] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำที่เป็นจริง [1] / [2] 24.44
[4] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำแยกตามกลุ่มสาขาวิชา 25.00
[5] ร้อยละที่ได้ ([3] – [4] / [4]) X 100 -2.24
[6] ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.5] การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 1 คณะมีระบบและกลไกการให้คำปรึกษาและการใช้ชีวิต ทั้งในรูปแบบออฟไลน์ และออนไลน์ แต่อย่างไรก้ตามมีการแบ่งจำนวนนักศึกษาอย่างไร สาขาการเงินและการลงทุน สาขาวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ซึ่งมีจำนวนนักศึกษาจำนวนมากแต่อาจารย์ 2 คน

ข้อ 2 คณะมีการดำเนินงานกิจกรรมพิเศษนอกหลักสูตร แต่อย่างไรก็ตามการนำเสนอในเล่ม SAR ควรมีการระบุกิจกรรมต่างๆ โดยสรุปไว้ด้วย

ข้อ 3 คณะมีการดำเนิการจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อม 5 โครงการ

ข้อ 4 ทุกโครงการที่ดำเนินการมีผลประเมินมากว่า 4.00 

ข้อ 5 คณะมีการสรุปโครงการและนำมาวิเคราะห์เพื่อการปรับปรุง

ข้อ 6 คณะมีการดำเนินการ แต่ออย่างไรก็ตามถ้าสามารถนำกิจกรรมต่างๆ สรุปไว้ใน SAR ด้วยจะทำให้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น

 

[ตัวบ่งชี้ 1.6] กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
9
9
100.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 1. คณะมีการดำเนินการจัดทำแผนพัฒนานักศึกษาโดยมีส่วนร่วมจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

ข้อ 2. คณะมีการดำเนินการ 4 โครงการ โดยมีการระบุอย่างชัดเจนว่าแต่ละโครงการส่งเสริมคุณลักษณะด้านใดตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

ข้อ 3. ผ่าน

ข้อ 4. ผ่าน

ข้อ 5. ผ่าน แต่อย่างไรก็ตามควรมีการระบุโครงการทั้ง 9 โครงการไว้ด้วยในเล่ม SAR ด้วย


ข้อ 6. ผ่าน 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 1

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. หลักสูตรมีความหลากหลายครอบคลุมด้านธุรกิจทั้งหมด และมีทุกระดับ (ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก)

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรติดตามแผนพัฒนารายบุคลในการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการสำหรับอาจารย์ที่มีศักยภาพ โดยอาจจะติดตามทุก 3 เดือน หรือทุก 6 เดือน ซึ่งจะทำให้อาจารย์ที่อยู่ในแผนไปสู่เป้าหมายได้มากยิ่งขึ้น
  2. ในแต่ละโครงการที่ได้ดำเนินงาน อาจจะต้องเน้นยำในเรื่องการประเมินตามวัตถุประสงค์ของกิจกรรมมากยิ่งขึ้น เท่าที่ได้เห็นข้อมูลจะเป็นปริมาณเป็นส่วนใหญ่

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

[ตัวบ่งชี้ 2.1] ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

 

[ตัวบ่งชี้ 2.2] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายใน 80,200.00 0.33
[2] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายนอก 0.00
[3] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ทั้งภายในและภายนอก [1] + [2] 80,200.00
[4] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ] 49.00
[5] จำนวนนักวิจัยประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมนักวิจัยที่ลาศึกษาต่อ] 0.00
[6] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย [3] / ([4] +[5]) 1,636.73
[7] ผลลัพธ์ที่ได้ [6] X 5 / 25000 0.33

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

- ควรสนับสนุนให้มีคณาจารย์ได้มีการทำวิจัยเพิ่มขั้น โดยการขอสนับสนุนทุนการวิจัยทั้งจากหน่วยงานภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย

- ทำการประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางการสื่อสารภายในเกี่ยวกับแหล่งทุนวิจัยต่างๆ 

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = 50,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขึ้นไปต่อคน

[ตัวบ่งชี้ 2.3] ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 77 0 13 2 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 24.80 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 49.00
[3] จำนวนนักวิจัยประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 0.00
[4] ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ [1] X 100 / [2] + [3] 50.61
[5] ผลลัพธ์ที่ได้ [4] X 5 / 20 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

- มีงานวิจัยที่เผยแพร่ทั้งในการประชุมวิชาการและวารสาร TCI1 และ TCI2 จำนวนมาก

- งานวิจัยเกือบทั้งหมดเป็นงานของนักศึกษาในระดับมหาบัณฑิต โดยมีผลงานวิจัยของอาจารย์น้อย จึงควรมีการสนับสนุนให้คณาจารย์ทำวิจัยและเผยแพร่ โดยหากไม่ได้ขอสนับสนุนทุนการวิจัย ก็อาจจะดำเนินการวิจัยในเรื่องที่ตนเองสะดวก เช่น การทำวิจัยในชั้นเรียน เพื่อให้คณาจารย์มีผลงานวิจัยเผยแพร่มากยิ่งขึ้น

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 20 ขึ้นไป

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 2

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีผลงานาวิจัยจำนวนมาก โดยเป็นการนำเสนอในการประชุมวิชาการ และวารสารวิชาการ TCI1 และ TCI2

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. คณาจารย์ทำวิจัยน้อย ทำให้การขอทุนสนับสนุนและการเผยแพร่ผลงานวิจัยของคณาจารย์น้อยไปด้วย จึงควรมีการสนับสนุนและประชาสัมพันธ์ให้คณาจารย์ในคณะได้ทำวิจัยและมีการเผยแพร่เพิ่มขึ้น

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การบริการวิชาการแก่สังคม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ในเล่มเอกสาร
ข้อ 2.โครงการบริการวิชาการแก่สังคมตามแผน มีการจัดทำแผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการเพื่อให้เกิดผลต่อการพัฒนานักศึกษา ชุมชน หรือสังคม
โดยจัดทำแผนจากโครงการทั้ง 4 โครงการ -> ให้เปล่า 2 โครงการ มีรายได้ 4 โครงการ
บธ.อ3.3.1.1.11 แผนการใช้ประโยชน์จากการบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยรังสิต ปีการศึกษา 2566 มีแค่ 2 โครงการ
- โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการเป็นผู้ประกอบการหลักสูตร MM
- โครงการบริการวิชาการให้แก่บุคคลภายนอกของสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ และซัพพลายเชน

ข้อ 3.โครงการบริการวิชาการแก่สังคมในข้อ 1 อย่างน้อยต้องมีโครงการที่บริการแบบให้เปล่า
คณะบริหารธุรกิจ ได้มีโครงการบริการวิชาการทั้งสิ้น จำนวน 4 โครงการ -> ให้เปล่า 2 โครงการ มีรายได้ 4 โครงการ

ข้อ 4.ประเมินความสำเร็จตามตัวบ่งชี้ของแผนและโครงการบริการวิชาการแก่สังคมในข้อ 1 
ประจำปีการศึกษา 2566 โดยมีโครงการบริการวิชาการจำนวน 4 โครงการ 
มีความสำเร็จบรรลุตามแผน 4 โครงการ 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 3

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีการนำจุดแข็งและศักยภาพของคณะมาใช้ในการบริการวิชาการ ให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชนทั้งแบบให้เปล่าและแบบมีรายได้

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ส่งเสริม สนับสนุนให้อาจารย์และนักศึกษาเข้าใจบทบาทและตระหนักถึงคุณค่าของการบริการวิชาการ เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการบริการวิชาการแก่ชุมชนและสังคมให้มากยิ่งขึ้น

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

[ตัวบ่งชี้ 4.1] ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 - 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-
 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 4

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีการบูรณาการกิจกรรมการพัฒนาการเรียนการสอนและการบูรณาการการเรียนการสอนกับงานต่างประเทศ โดยผนวกโครงการเรียนรู้ร่วมกันในความเป็นนานาชาติระหว่างนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ เข้าไว้ด้วยกัน

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. -

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

[ตัวบ่งชี้ 5.1] การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 - 6 ข้อ มีการดำเนินการ 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
การจัดการความรู้ในแต่ละด้าน จำนวน
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการผลิตบัณฑิต [ยุทธ์ ฯ 1] 1
เรื่อง
  • Transformative Learning
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการวิจัย [ยุทธ์ ฯ 2] 1
เรื่อง
  • บทบาทผู้นำต่อการผลักดันงานวิจัย
การจัดการความรู้ ด้าน Smart Organization [ยุทธ์ ฯ 3] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Internationalization [ยุทธ์ ฯ 4] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Reputation [ยุทธ์ ฯ 5]
(รวมด้านบริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม)
0
การจัดการความรู้ ด้านอื่น ๆ 0

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 1 มีการวิเคราะห์ SWOT เพื่อจัดทำแผนของคณะ และเชื่อมโยงกับมหาวิทยาลัย มีกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จไว้ชัดเจน

ข้อ 2 คณะได้วิเคราะห์ความคุ้มค่าของทุกหลักสูตรพบว่าทุกหลักสูตรคุ้มทุน  แต่อย่างไรก็ตามพบว่างานโครงการพัฒนานักศึกษาใช้ไปเพียง 42.80% ของงบประมาณที่ได้รับอนุมัติ อาจจะต้องลองพิจารณาว่าโครงการที่ดำเนินการนักศึกษาได้ครบตามแผนที่วางไว้หรือไม่ เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานในปีถัดไป

ข้อ 3 มีการวิเคราะห์และบริหารความเสี่ยงเป็นไปตามกรอบของมหาวิทยาลัย ปกบริหารความเสี่ยงเป็นคณะบัญชี

ข้อ 4 ผ่าน

ข้อ 5 ผ่าน

ข้อ 6 ตามแผนพัฒนาที่คณะได้เสนอเข้าใจว่าจะเป็นการพัฒนาโดยการอบรม ควรจะต้องมีแผนในเรื่องการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการด้วย ซึ่งทางคณะอาจจะพิจารณาจากองค์ประกอบที่ 2 ซึ่งมีผลงานที่ตีพิมพ์จำนวนมาก โดยพิจารณางานที่มีศักยภาพเพื่อการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการต่อไป

ข้อ 7 คณะอาจจะใช้กระบวนการประกันคุณภาพการศึกษาเป็นเครื่องมือในการบริหารงานของคณะเพื่อดำเนินงานในตัวบ่งชี้ที่ได้ผลประเมินต่ำในการพัฒนาคณะ

[ตัวบ่งชี้ 5.2] ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

ข้อ 1 ผ่าน
ข้อ 2 ผ่าน
ข้อ 3 ผ่าน
ข้อ 4 ผ่าน
ข้อ 5 ผ่าน
ข้อ 6 ผ่าน

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 5

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. คณะมีการบริหารหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีรายได้สูงกว่ารายจ่ายโดยเฉลี่ยถึงประมาณ 76%

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ในการคำนวณหาจุดคุ้มทุนเห็นว่าเป็นหลักสูตรคล้ายกันน่าจะมีจำนวนคุ้มทุนที่ใกล้เคียงกัน แต่จากผลการดำเนินการพบว่าบางหลักสูตรมีจุดคุ้มทุนสูงถึง 178.14 คน

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม 3.52
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 4.08
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 0.51
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 0.33
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร 5.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 4.11

ตารางผลการวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2566

องค์ประกอบคุณภาพ จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 6 3.20 5.00 3.52 3.85 การดำเนินงานระดับดี
2 3 0.33 5.00 5.00 3.44 การดำเนินงานระดับพอใช้
3 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
4 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
5 2 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
ผลการประเมิน 2.48 5.00 4.26 4.11 การดำเนินงานระดับดี
ระดับคุณภาพ การดำเนินงานต้องปรับปรุง การดำเนินงานระดับดีมาก การดำเนินงานระดับดี