รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

คณะบัญชี

วันที่ประเมิน: 2 ตุลาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 1.1] ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน คะแนน
[1] จำนวนหลักสูตรทั้งหมดที่คณะรับผิดชอบ
[ไม่รวมหลักสูตรที่ใช้ระบบประกันคุณภาพอื่นๆ ที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)]
2 4.15
[2] ผลรวมของค่าคะแนนประเมินของทุกหลักสูตร 8.30
[3] ผลลัพธ์ที่ได้ [2] / [1] 4.15

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.2] อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 40 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 11.00 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 5
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 45.45
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.3] อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 11.00 4.55
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 6
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 54.55
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 4.55

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.4] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] สามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า [ค่า FTES] รวมทุกหลักสูตร 209.46 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] 11.00
[3] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำที่เป็นจริง [1] / [2] 19.04
[4] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำแยกตามกลุ่มสาขาวิชา 25.00
[5] ร้อยละที่ได้ ([3] – [4] / [4]) X 100 -23.84
[6] ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.5] การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.6] กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
15
15
100.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

คณะมีความโดดเด่นในการจัดกิจกรรมนักศึกษาทีหลากหลาย และทุกโครงการบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้  ดังนั้นควรถอดบทเรียนเป็นต้นแบบสำหรับดำเนินกิจกรรมนักศึกษาในปีการศึกษาต่อๆไป เพื่อเป็นตัวอย่างในการจัดกิจกรรมทั้งภายในและนอกคณะ นอกจากนั้นหากออกแบบ การวางโครงการ ในลักษณะของการวิจัยและพัฒนา ( R&D research) จะทำให้เกิดนวัตกรรม และการวิจัย R&D การวางโครงการของคณะในอนาคตอีกด้วย

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 1

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. การบริหารจัดการหลักสูตรอยู่ในระดับดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง อาจารย์ประจำคณะมีคุณภาพสูง ทั้งคุณวุฒิการศึกษาและตำแหน่งวิชาการ
  2. มีการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษาที่มีความหลากหลายทั้งด้านวิชาการและการใช้ชีวิต
  3. แนวทางเสริม ควรพัฒนาโครงการอย่างต่อเนื่องในการยกระดับให้เป็นงานวิจัยและพัฒนา

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรถอดบทเรียน จากกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษา เพื่อนำไปสู่การเป็นต้นแบบสำหรับดำเนินกิจกรรมนักศึกษาของมหาวิทยาลัย

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

[ตัวบ่งชี้ 2.1] ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

คณะบัญชีมีการใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานวิจัยของมหาวิทยาลัย เพื่อสร้างงานด้านการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ มีการจัดสรรให้คณาจารย์พัฒนางานวิจัย โดยการขอทุนวิจัยจากทั้งภายในและภายนอก รวมทั้งสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานให้เป็นที่ประจักษ์ อันเป็นการเพิ่มสมรรถนะด้านงานวิจัยของอาจารย์ภายในคณะ ตลอดจนรับทราบการคุ้มครองสิทธิ์ของงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่เป็นแนวทางปฏิบัติที่ถูกต้อง กล่าวคือคณะบัญชีมีระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยครบทุกข้อ

[ตัวบ่งชี้ 2.2] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายใน 342,143.00 5.00
[2] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายนอก 221,425.00
[3] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ทั้งภายในและภายนอก [1] + [2] 563,568.00
[4] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ] 11.00
[5] จำนวนนักวิจัยประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมนักวิจัยที่ลาศึกษาต่อ] 0.00
[6] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย [3] / ([4] +[5]) 51,233.45
[7] ผลลัพธ์ที่ได้ [6] X 5 / 25000 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

คณะบัญชีมีเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์เพียงพอสำหรับการพัฒนางานวิจัย โดยส่วนใหญ่เป็นทุนวิจัยที่มีการสร้างเครือข่ายกับภายนอกและบุคลากรคณะอื่น ทำให้เกิดเครือข่ายที่เข้มแข็งตามเป้าประสงค์ของมหาวิทยาลัย  

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = 50,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขึ้นไปต่อคน

[ตัวบ่งชี้ 2.3] ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 5 2 4 4 0
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 0 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 7.40 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 11.00
[3] จำนวนนักวิจัยประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 0.00
[4] ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ [1] X 100 / [2] + [3] 67.27
[5] ผลลัพธ์ที่ได้ [4] X 5 / 20 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

คณะบัญชีมีการเผยแพร่งานวิจัยจำนวน 15 ผลงาน ซึ่งแสดงถึงคุณภาพของบุคลากรของคณะบัญชี ที่ผลักดันส่งเสริมที่มีคุณภาพโดยคณบดี 
อนึ่งการผลักดันเพื่อสามารถเผยแพร่ผลงานในระดับวารสารนานาชาติต่อเนื่องทุกปี เป็นทิศทางที่คณะควรต้องส่งเสริมอย่างต่อเนื่อง ซึ่งต้องอาศัยการวางแผนยกระดับข้อมูลงานวิจัย สร้างเครือข่ายระดับนานาชาติเพิ่มขึ้น 

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 20 ขึ้นไป

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 2

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. บุคลากรคณะบัญชีมีการนำเอา facility ที่มหาวิทยาลัยจัดสรรให้มาเป็นประโยชน์ในการพัฒนางานวิจัยของคณะได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ
  2. คณบดีเป็นผู้ที่มีวิสัยทัศน์ สามารถเป็นผู้นำสร้างงาน วางแผนงานที่ปฏิบัติได้ และผลักดันการพัฒนาบุคลากรด้านวิจัย อย่างเป็นรูปธรรม
  3. คณะบัญชีมีคณาจารย์ที่สามารถสร้างงานวิจัยได้หลากหลาย ทั้งที่สามารถสร้างงานเดี่ยวและสร้างงานวิจัยแบบเครือข่ายทำให้เกิดการพัฒนางานวิจัยได้หลายมิติ นำสู่การพัฒนาบุคลากรด้านงานวิจัยได้อย่างถูกต้อง

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. การสร้างทีมวิจัยเพื่อพัฒนางานวิจัยระดับนานาชาติ ทั้งการขอทุนวิจัยและการเผยแพร่ผลงาน

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การบริการวิชาการแก่สังคม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

คณะบัญชีสามารถมีการจัดทำแผนและดำเนินงานตามเป้าหมายของแผนประจำปีได้ครบทุกขั้นตอน  

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 3

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. บุคลากรคณะบัญชีมีแนวคิดนำงานวิจัยและการเรียนการสอนมาใช้ในงานบริการวิชาการ เห็นความสำคัญของการพัฒนาชุมชน
  2. วิชาการด้านบัญชี เป็นความรู้พื้นฐานที่สำคัญ เป็นพื้นฐานความรู้สำคัญสำหรับการดำรงชีวิต การส่งต่อความรู้ด้านบัญชีแก่ชุมชนจึงเป็นความสำคัญที่ช่วยพัฒนาคนอย่างแท้จริง
  3. คณะบัญชีส่งเสริมให้นักศึกษาของคณะ เป็นแกนหลักของการบริการวิชาการ สร้างเสริมแนวคิดการยกระดับคุณภาพสังคมให้กับเยาวชน

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. การพัฒนาความรู้ให้กับชุมชนแบบต่อเนื่อง ติดตามผล เพื่อให้เกิดการพัฒนาความรู้ด้านบัญชีครัวเรือนอย่างยั่งยืนในชุมชน

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

[ตัวบ่งชี้ 4.1] ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 - 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

1. มีหลากหลายกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรม ทั้งในส่วนของกิจกรรมระดับคณะวิชาและมหาวิทยาลัย และระดับชุมชน
2. มีกระบวนการของการดำเนินงานที่ครบถ้วนตามเกณฑ์จำนวน 6 ข้อ 

 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 4

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. คณะให้ความสำคัญต่อกระบวนการในการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ที่มีความครบถ้วนของ PDCA ทั้งในระบบและกลไกภายในคณะและการให้ความร่วมมือกับงานของมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง
  2. คณะมีการส่งเสริมและสนับสนุนให้มีกิจกรรมของการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่หลากหลาย ในคณาจารย์และนักศึกษา ทั้งภายในมหาวิทยาลัยและสังคม รวมถึงการเผยแพร่ผลงานผ่าน Social Media
  3. คณะมีการบูรณาการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมในการเรียนการสอนของบางรายวิชา โดยการสอดแทรกเข้าไปในการเรียนการสอน ได้แก่วิชาหลักการบัญชีต้นทุน เป็นต้น

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. -

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

[ตัวบ่งชี้ 5.1] การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 - 6 ข้อ มีการดำเนินการ 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
การจัดการความรู้ในแต่ละด้าน จำนวน
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการผลิตบัณฑิต [ยุทธ์ ฯ 1] 1
เรื่อง
  • การสร้างเสริมทักษะการเรียนรู้วิชาชีพบัญชียุคดิจิทัลของนักศึกษาหลักสูตรบัญชีบัณฑิตด้วยการจัดการการเรียนการสอนแบบ Active Learning
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการวิจัย [ยุทธ์ ฯ 2] 1
เรื่อง
  • การพัฒนาความร่วมมือด้านการวิจัยระดับนานาชาติอย่างมืออาชีพ
การจัดการความรู้ ด้าน Smart Organization [ยุทธ์ ฯ 3] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Internationalization [ยุทธ์ ฯ 4] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Reputation [ยุทธ์ ฯ 5]
(รวมด้านบริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม)
0
การจัดการความรู้ ด้านอื่น ๆ 0

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 5.2] ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 5

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. คณะมีการบริหารจัดการที่ปรับเปลี่ยนตามสภาพการณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพได้แก่การจัดภาระงานและความรับผิดชอบ ของบุคลากรสายสนับสนุน เป็นต้น
  2. คณะมีผู้นำที่เข้มแข็งและบริหารงานที่เป็นรายละเอียดของแต่ละพันธกิจของคณะอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดังที่ได้พบความสำเร็จตาม OKR ของแต่ละยุทธศาสตร์
  3. คณะมีการดำเนินงาน การประเมินและสรุปผลการประเมินเพื่อมีความต่อเนื่องในการปรับปรุง ซึ่งจะนำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ โดยเฉพาะความสำเร็จในการบริหารความเสี่ยง และการจัดการความรู้ที่ครบถ้วนตามพันธกิจ
  4. คณะได้รับความสำเร็จในกระบวนการจัดการเรียนการสอน การจัดการระบบอาจารย์ที่ปรึกษา การบริหารจัดการงานวิจัย และการพัฒนาบุคลากร ดังแสดงเป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ ได้แก่การได้รับรางวัลของคณาจารย์และนักศึกษา เป็นต้น
  5. ผู้บริหารของคณะบริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาลอย่างครบถ้วน ที่ส่งผลให้ผลประเมินของการปฏิบัติงานของบุคลากรทั้งในสายอาจารย์และสายสนับสนุนอยู่ในระดับดี
  6. คณะมีระบบกลไกและกระบวนการในการประกันคุณภาพการศึกษาของทั้งหลักสูตรและคณะที่ครบถ้วนในทุกขั้นตอนอย่างมีประสิทธิภาพ
  7. แนวทางเสริมจุดแข็ง - การพิจารณาประเด็นการไม่บรรลุเป้าหมายของตำแหน่งวิชาการของอาจารย์ มาพัฒนามาตรการในการให้บรรลุความสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ต่อไป

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. -

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม 4.15
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 4.55
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร 5.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 4.90

ตารางผลการวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

องค์ประกอบคุณภาพ จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 6 4.85 5.00 4.15 4.78 การดำเนินงานระดับดีมาก
2 3 5.00 5.00 5.00 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
3 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
4 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
5 2 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
ผลการประเมิน 4.89 5.00 4.58 4.90 การดำเนินงานระดับดีมาก
ระดับคุณภาพ การดำเนินงานระดับดีมาก การดำเนินงานระดับดีมาก การดำเนินงานระดับดีมาก