รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

คณะพยาบาลศาสตร์

วันที่ประเมิน: 5 ตุลาคม 2566, 09:30น.

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

[ตัวบ่งชี้ 1.1] ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน คะแนน
[1] จำนวนหลักสูตรทั้งหมดที่คณะรับผิดชอบ
[ไม่รวมหลักสูตรที่ใช้ระบบประกันคุณภาพอื่นๆ ที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต พ.ศ.2563 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2565)]
1 3.86
[2] ผลรวมของค่าคะแนนประเมินของทุกหลักสูตร 3.86
[3] ผลลัพธ์ที่ได้ [2] / [1] 3.86

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

          หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต [2 ภาษา] และหลักสูตรพยาบาล ศาสตรบัณฑิต หลักสูตรใหม่  2565 ได้รับการรับรองจากสภาการพยาบาลเป็นระยะเวลา 5 ปี [พ.ศ. 2566-2570] และได้รับรองว่าเป็นหลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ [TQR] โดย สกอ. ไม่ต้องได้รับการประเมินคุณภาพจากคณะกรรมการประเมิน จึงไม่ต้องนำคะแนนการประเมินของทั้ง 3 หลักสูตรมาคำนวณในตัวบ่งชี้นี้ จึงนำคะแนนการประเมินของหลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต [การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ] เพียงหลักสูตรเดียวมาคำนวณในตัวบ่งชี้ที่ 1.1
 

[ตัวบ่งชี้ 1.2] อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 40 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 62.00 3.83
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 19
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 30.65
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 40 3.83

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.3] อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ [กำหนดคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป]

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมดสามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด 62.00 2.82
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 21
[3] ร้อยละที่ได้ [2] X 100 / [1] 33.87
[4] ผลลัพธ์ที่ได้ [3] X 5 / 60 2.82

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.4] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

*หมายเหตุ: จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] สามารถใส่เป็นทศนิยม 2 ตำแหน่งได้
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า [ค่า FTES] รวมทุกหลักสูตร 370.89 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่รวมลา] 56.00
[3] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำที่เป็นจริง [1] / [2] 6.62
[4] สัดส่วนจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาต่อจำนวนอาจารย์ประจำแยกตามกลุ่มสาขาวิชา 6.99
[5] ร้อยละที่ได้ ([3] – [4] / [4]) X 100 5.29
[6] ผลลัพธ์ที่ได้ 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.5] การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 1.6] กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
10
8
80.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 1

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. มีหลักสูตรที่ได้รับการรับรองคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (Thai Qualifications Register; TQR) หลายหลักสูตร ซึ่งแสดงให้เห็นถึงคุณภาพโดยรวมของทางคณะเป็นที่ยอมรับและเป็นไปตามมาตรฐาน
  2. มีระบบกลไก ในการดูแลให้คำปรึกษากับนักศึกษา และมีการดำเนินการอย่างเป็นระบบ ส่งผลให้ผลการประเมินความพึงพอใจต่อระบบอาจารย์ที่ปรึกษาอยู่ในระดับดีมาก (4.85 จาก 5)

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. -

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

[ตัวบ่งชี้ 2.1] ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

[ตัวบ่งชี้ 2.2] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์

ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินของกรรมการ
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายใน 157,341.52 5.00
[2] เงินสนับสนุนงานวิจัย/งานสร้างสรรค์จากภายนอก 2,757,352.73
[3] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ทั้งภายในและภายนอก [1] + [2] 2,914,694.25
[4] จำนวนอาจารย์ประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ] 56.00
[5] จำนวนนักวิจัยประจำที่ปฏิบัติงานจริง [ไม่นับรวมนักวิจัยที่ลาศึกษาต่อ] 0.00
[6] เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย [3] / ([4] +[5]) 52,048.11
[7] ผลลัพธ์ที่ได้ [6] X 5 / 50000 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = 60,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = 50,000 บาทขึ้นไปต่อคน
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = 25,000 บาทขึ้นไปต่อคน

[ตัวบ่งชี้ 2.3] ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย

หมายเหตุ เป็นผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรอบปีที่รับการประเมินเท่านั้น [ช่องไหนไม่มีผลงานให้ใส่ 0 ไม่ปล่อยว่าง]
จำนวนผลงานทางวิชาการตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 1 0 8 14 4
จำนวนผลงานสร้างสรรค์ตามค่าถ่วงน้ำหนัก
ค่าถ่วงน้ำหนัก 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00
จำนวนผลงาน (ชิ้น) 0 0 1 0 0
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมิน
จำนวนยืนยัน กรรมการ
[1] ผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ 20.80 5.00
[2] จำนวนอาจารย์ประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 62.00
[3] จำนวนนักวิจัยประจำคณะทั้งหมด [นับทั้งที่ปฏิบัติงานจริง และลาศึกษาต่อ] 0.00
[4] ร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักที่ได้ [1] X 100 / [2] + [3] 33.55
[5] ผลลัพธ์ที่ได้ [4] X 5 / 30 5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน ตามกลุ่มสาขาวิชา

  1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  2. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 30 ขึ้นไป
  3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 20 ขึ้นไป

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 2

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. อาจารย์มีผลงานตีพิมพ์ในวารสารทั้งระดับนานาชาติและระดับชาติ และมีผลงานสร้างสรร

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. การมีหลักสูตร ปริญญาโท จะช่วยให้มีผลงานตีพิมพ์เพิ่มขึ้น อาจารย์ที่ปรึกษาควรกระตุ่นให้ นักศึกษาตีพิมพ์ผลงานอย่างน้อยระดับชาติ TCI1

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

[ตัวบ่งชี้ 3.1] การบริการวิชาการแก่สังคม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

-

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 3

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. คณะมีการดำเนินการด้านบริการวิชาการอย่างเป็นระบบ และก่อให้เกิดประโยชน์กับชุมชนและสังคม รวมถึงบุคลากรและนักศึกษาด้วย
  2. คณะมีงานบริการวิชาการทั้งแบบให้เปล่าและแบบมีรายได้หลายโครงการ และผลจากงานบริการดังกล่าวสามารถบูรณาการร่วมกับการวิจัยก่อให้เกิดผลงานวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. -

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

[ตัวบ่งชี้ 4.1] ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 - 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

เสนอแนวทางการเขียนผลการดำเนินงาน ดังนี้
          ข้อ 1. ข้อความตอนท้าย หากปรับเป็น ในปีการศึกษา 2565 มหาวิทยาลัยประกาศให้มีการจัดการเรียนการสอนออนไซต์ 100% และการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ผ่อนคลายลง ทางคณะพยาบาลจึงดำเนินการจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับสถานการณ์
          ข้อ 2. จากข้อ 1 บรรทัดที่ 4 บอกว่า มีการจัดทำแผนทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ดังนั้นควรแยกเป็นแผนทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม นอกจากแผนปฏิบัติการประจำปี ซึ่งวัตถุประสงค์ในแผนปฏิบัติการประจำปี มีแต่วัตถุประสงค์ของโครงการ/กิจกรรม เท่านั้น ไม่ใช่วัตถุประสงค์ของแผน อาจตั้งวัตถุประสงค์ของแผน เช่น เพื่อส่งเสริมการจัดโครงการ/กิจกรรม และเผยแพร่ศิลปะและวัฒนธรรมในรูปแบบต่างๆ หรือ เพื่อติดตามผลการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
          ข้อ 3. ถ้าจัดทำแผนทำนุบำรุงฯ แล้วทำการกำกับติดตาม เพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ ซึ่งเอกสารอ้างอิงที่เป็นรายงานสรุปผลการดำเนินโครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม สามารถนำไปเขียนไว้ในแผนทำนุบำรุงฯ ได้เลย
          ข้อ 4. เขียนข้อนี้ได้ดีมาก หากจะให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้นในปีต่อไป นอกจากประเมินความสำเร็จของแต่ละกิจกรรม ควรกล่าวถึง การประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนด้วย นั่นคือ เมื่อมีแผนทำนุบำรุงฯ กำหนดวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดความสำเร็จ ต่อจากนั้น ทำการประเมินความสำเร็จตัวชี้วัดตามวัตุประสงค์ของแผนที่ตั้งไว้
          ข้อ 5. -
          ข้อ 6. มีเว็บไซต์ของคณะหรือไม่ ถ้ามี ก็จะเป็นช่องทางการเผยแพร่กิจกรรมด้านทำนุบำรุงฯ ได้ด้วย
 

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 4

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. ผู้บริหาร คณาจารย์และบุคลากรคณะพยาบาลศาสตร์ร่วมกันสืบสานประเพณี/วัฒนธรรมให้แก่นักศึกษาในพิธีมอบหมวก และมอบแถบหมวก ซึ่งเป็นประเพณีที่เกิดความภาคภูมิใจในความสำเร็จ และวิชาชีพของตนเอง
  2. คณะพยาบาลศาสตร์ได้สร้างกิจกรรมวัฒนธรรมวิชาชีพของกลุ่มประเทศอาเซียน และสากล นักศึกษาสามารถเลือกเรียนภาษาทางเลือกได้ถึง 3 ภาษา ได้แก่ ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น ภาษาอังกฤษ นอกจากนี้ ยังกำหนดให้นักศึกษาร่วมกันจัดกิจกรรมวันพยาบาลสากล เพื่อให้เห็นความสำคัญของภาษาในวิชาชีพการพยาบาล

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ควรจัดทำแผนทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม แยกออกจากแผนปฏิบัติการประจำปี โดยเริ่มจากการวิเคราะห์ SWOT ด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม และอาจตั้งวัตถุประสงค์ของแผน เช่น 1) เพื่อส่งเสริมการจัดโครงการ/กิจกรรม และเผยแพร่ศิลปะและวัฒนธรรมในรูปแบบต่างๆ 2)เพื่อติดตามผลการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
  2. ในการจัดทำแผนทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม เมื่อกำหนดวัตถุประสงค์แล้ว ควรกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จ หลังจากนั้น ทำการประเมินความสำเร็จตัวชี้วัดตามวัตุประสงค์ของแผนที่ตั้งไว้

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

[ตัวบ่งชี้ 5.1] การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 - 6 ข้อ มีการดำเนินการ 7 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00
การจัดการความรู้ในแต่ละด้าน จำนวน
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการผลิตบัณฑิต [ยุทธ์ ฯ 1] 1
เรื่อง
  • ทำอย่างไรจึงจะได้ตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการระดับนานาชาติ
การจัดการความรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีด้านการวิจัย [ยุทธ์ ฯ 2] 1
เรื่อง
  • รูปแบบการเรียนรู้ภาคปฏิบัติสู่การสร้างสมรรถนะจำเป็นในศตวรรษที่ 21
การจัดการความรู้ ด้าน Smart Organization [ยุทธ์ ฯ 3] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Internationalization [ยุทธ์ ฯ 4] 0
การจัดการความรู้ ด้าน Reputation [ยุทธ์ ฯ 5]
(รวมด้านบริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม)
0
การจัดการความรู้ ด้านอื่น ๆ 0

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

          ข้อ 2. มีข้อสังเกต ตารางที่ 3 งบโครงการพัฒนาการเรียนการสอน ใช้งบเพียงร้อยละ 13.26 ซึ่งน้อยมาก
          ข้อ 5. การจัดการความรู้ทั้ง 2 เรื่อง น่าจะระบุชื่ออาจารย์ ที่ได้รับรางวัลดีเด่น และรางวัลชมเชย
          ข้อ 6. ข้อนี้เขียนดีมาก หากให้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น น่าจะแยกเขียนเป็น 2 ประเด็น คือ
                    1. แผนการบริหาร เช่น บริหารด้านกำลังคน ด้านกำหนดบทบาทหน้าที่ กำหนดภาระงานสอน เป็นต้น
                    2. แผนพัฒนาบุคลากร เช่น พัฒนาคุณวุฒิและตำแหน่งทางวิชาการ พัฒนาความสามารถในการวิจัย พัฒนาความรู้โดยการอบรม สัมมนา เป็นต้น
          ข้อ 7. เสนอแนวทางการเขียนข้อนี้เป็นการดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพ ควรแยกเขียนเป็น 3 ประเด็น คือ
                    1. การควบคุมคุณภาพ
                    2. การตรวจสอบคุณภาพ
                    3. การประเมินคุณภาพ
​​​​​​​

[ตัวบ่งชี้ 5.2] ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ มีการดำเนินการ 2 ข้อ มีการดำเนินการ 3 - 4 ข้อ มีการดำเนินการ 5 ข้อ มีการดำเนินการ 6 ข้อ
การดำเนินงาน [ข้อ] ผลการประเมินของกรรมการ
5.00

ข้อคิดเห็นเบื้องต้น

          ข้อ 1. ข้อนี้เขียนดีมาก
          ข้อ 2. เสนอแนวทางการเขียนในปีหน้า โดยเริ่มกำกับ ติดตามการดำเนินงานประกันคุณภาพหลักสูตร ในภาคการศึกษาที่ 1 และ 2 ติดตามผลการดำเนินงานหลักสูตรประเด็นใดบ้าง เช่น การรับนักศึกษา การเตรียมความพร้อม การพัฒนาศักยภาพนักศึกษา เป็นต้น โดยหัวหน้าหลักสูตรทำการรายงานต่อกรรมการประจำคณะ เพื่อร่วมกันหาแนวทางปรับปรุงให้ดีขึ้น
          ข้อ 4. เมื่อยังไม่มีรายงานการประชุม ให้ใส่ข้อเสนอแนะจากกรรมการประเมินหลักสูตรไว้ในข้อนี้ด้วย และให้ตรวจสอบวันที่ประชุมครั้งต่อไปเป็นวันที่ 19 ตค(หน้า 120) หรือ 16 ตค(หน้า 125)
          ข้อ 6. เขียนรายละเอียดผลของการประเมินหลักสูตรด้วยก็จะดี

ผลการประเมินเชิงคุณภาพขององค์ประกอบที่ 5

จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง

  1. ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ในการบริหารคณะ โดยคำนึงถึงประโยชน์ของคณะ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ดำเนินการผลิตบัณฑิตพยาบาลที่มีคุณภาพ

จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

  1. ในการกำกับ ติดตามการดำเนินงานประกันคุณภาพหลักสูตร ทางคณะควรร่วมกันหาแนวทางช่วยหลักสูตร ในประเด็นต่างๆ อาทิ การรับนักศึกษา การเตรียมความพร้อม การพัฒนาศักยภาพนักศึกษา เป็นต้น

สรุปผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้คุณภาพ ผลดำเนินการ
กรรมการ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม 3.86
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 3.83
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 2.82
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ 5.00
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร 5.00
ผลการประเมินเฉลี่ยรวม [13 ตัวบ่งชี้] 4.65

ตารางผลการวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565

องค์ประกอบคุณภาพ จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย ผลการประเมิน
1 6 3.88 5.00 3.86 4.25 การดำเนินงานระดับดี
2 3 5.00 5.00 5.00 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
3 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
4 1 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
5 2 - 5.00 - 5.00 การดำเนินงานระดับดีมาก
ผลการประเมิน 4.16 5.00 4.43 4.65 การดำเนินงานระดับดีมาก
ระดับคุณภาพ การดำเนินงานระดับดี การดำเนินงานระดับดีมาก การดำเนินงานระดับดี